Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2182
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรฆย์คณา แย้มนวลth_TH
dc.contributor.authorอิศรา ชูบำรุงth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-15T03:43:54Z-
dc.date.available2022-11-15T03:43:54Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2182en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของการผลิตและการส่งออกยางพาราของประเทศไทย 2) วิเคราะห์ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกยางพาราธรรมชาติของประเทศไทยไปตลาดโลก 3) วิเคราะห์ส่วนแบ่งการตลาดของการส่งออกยางพาราธรรมชาติของประเทศไทยไปตลาดโลก 4) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบและส่วนแบ่งการตลาดของการส่งออกยางพาราธรรมชาติของประเทศไทยไปตลาดโลก การศึกษาในครั้งนี้ใช้ข้อมูลการผลิตและส่งออกในช่วงปี พ.ศ. 2548-2552 ซึ่งค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตและหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูลโดยคานวณค่าความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏและส่วนแบ่งการตลาด ผลการศึกษาพบว่า 1) ในปี พ.ศ. 2552 ประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกยางพาราสูงเป็นอันดับสองรองจากอินโดนีเซียและสามารถผลิตยางพาราธรรมชาติได้มากที่สุดถึง 3,164 พันตัน รองลงมาได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม ประเทศไทยส่งออกยางพาราธรรมชาติสูงที่สุดมีมูลค่ารวม 146,263 ล้านบาท 2) ประเทศไทยมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของการส่งออกเฉลี่ยสูงสุดในสินค้ายางแผ่นรมควัน และน้ายางข้น อินโดนีเซียมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของสูงสุดการส่งออกในสินค้ายางแท่ง และยางชนิดอื่นๆ เวียดนามได้เปรียบโดยเปรียบเทียบสูงสุดในสินค้ายางผสม 3) ประเทศไทยมีส่วนแบ่งการตลาดเฉลี่ยมากที่สุดในสินค้ายางแผ่นรมควัน น้ายางเข้มและยางผสม อินโดนีเซียมีส่วนแบ่งการตลาดเฉลี่ยมากที่สุดในสินค้ายางแท่งและยางชนิดอื่นๆ 4) ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของการส่งออกยางพาราธรรมชาติเฉลี่ยของประเทศไทยมีค่าสูงเป็นอันดับ 2 รองจากประเทศอินโดนีเซีย ในขณะที่มีส่วนแบ่งการตลาดสูงที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectยางพารา--การส่งออก.--ไทยth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของการส่งออกยางพาราธรรมชาติของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of exporting competitiveness of Thailand's natural rubberen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives for research were to: 1) study the general situations of production and exportation of Thai natural rubber; 2) analyze comparative advantage of the exportation of Thai natural rubber to the world market; 3) analyze the market share of Thai natural rubber to the world market; and 4) analyze the relation of comparative advantage and market share of Thai natural rubber to the world market. This study used time series data comprising production and export during 2005-2009, collected from internet and related public agencies. In the study, revealed comparative advantage and market share were calculated to analyze the data. The results were as follows: 1) in 2009, Thailand was the second largest cultivated rubber plantation country, following Indonesia, and produced 3,164 thousand tons of natural rubber, followed by Indonesia, Malaysia and Vietnam, respectively, and the values of Thai natural rubber and rubber products were 146,063 millions of baht; 2) Thailand had the highest average comparative advantage in ribbed smoked sheet and latex, whereas Indonesia showed the highest in the exportation of block rubber and others, and Vietnam revealed the highest in mixed rubbers; 3) Thailand had the largest market share in ribbed smoked sheet, latex and mixed rubbers, while Indonesia had the largest in block rubber and others; and 4) the average comparative advantage of the exportation of Thai natural rubber showed the second highest one, following that of Indonesia, whereas Thailand had the highest market share.en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130071.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons