Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2201
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชฎาพร เลิศโภคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฐาปนีย์ โตจันทร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-21T08:03:47Z-
dc.date.available2022-11-21T08:03:47Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2201-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลทั่วไปของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ชายหาด บางแสน จังหวัดชลบุรี 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการมาท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว 3) พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวและ 4) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั่วไปของนักท่องเที่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการมาท่องเที่ยวและพฤติกรรมการท่องเที่ยว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางไปเที่ยวชายหาด บางแสน จังหวัดชลบุรี จำนวน 400 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ในช่วงเดือนธันวาคม ปี 2557 ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติพื้นฐานได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแล้วทำการทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ t-Test, F-Test และใช้ LSD ในการหาค่าความแตกต่างรายคู่ ผลการศึกษาพบว่า 1) นักท่องเที่ยวเป็นเพศหญิงมากที่สุด มีอายุระหว่าง 30-39 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัท/ลูกจ้างเอกชน มีรายได้อยู่ในช่วง 10,001-15,000 บาท โดยภูมิลำเนาอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการมาท่องเที่ยวชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี ในภาพรวมและในแต่ละด้านทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง โดยปัจจัยด้านการคมนาคมขนส่งมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ส่วนการโฆษณาประชาสัมพันธ์ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด 3) พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวพบว่า นักท่องเที่ยวเคยมาท่องเที่ยวชายหาดบางแสน 1-2 ครั้ง มาท่องเที่ยวด้วยตนเองพร้อมกับครอบครัว/ญาติพี่น้อง มีความพึงพอใจจากการมาท่องเที่ยวอยู่ในระดับปานกลาง ใช้รถส่วนตัวเป็นพาหนะในการเดินทาง ระยะเวลาการท่องเที่ยวมีจำนวน 1-2 วัน โดยพักค้างคืนที่ บังกะโล/รีสอร์ท มีค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว 1,001-2,000 บาทต่อครั้ง กิจกรรมที่ชอบทำที่สุดในการมาท่องเที่ยวคือการรับประทานอาหาร แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการเดินทางสอบถามจากเพื่อน/คนรู้จัก/ญาติและมีความคิดว่าจะกลับมาท่องเที่ยวอีก 4) การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั่วไปของประชากรกับปัจจัยที่มีผลต่อการมาท่องเที่ยวชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรีพบว่า เพศ อายุ รายได้เฉลี่ย ต่อเดือน ภูมิลำเนามีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่มีผลต่อการมาท่องเที่ยวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนในด้านความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั่วไปของประชากรกับพฤติกรรมการท่องเที่ยวพบว่า อายุ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ภูมิลำเนามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนเพศไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนักท่องเที่ยว--ไทย--ชลบุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.subjectหาดบางแสน (ชลบุรี)th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการมาท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting Thai tourists on traveling to Bangsean Beach in Chon Buri Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to examine: 1) the personal data of Thai tourists on traveling to Bangsean beach in Chon Buri province; 2) the factors affecting on traveling; 3) the tourism behavior of Thai tourists; and 4) the relationships between the personal data and the factors affecting on traveling and the tourism behavior. The sample of this study comprised of 400 Thai tourists on traveling to Bangsean beach of Chon Buri province. The data collected through accidental sampling method in December 2014 and using questionnaire as a research tool. The statistics used for analyzing the data were percentage, mean and standard deviation. The hypothesis posited for this study was tested by t-test, F-test and LSD method for testing the difference in pairs. The result of the study were as follows: 1) Most of the sample tourists were female, aged between 30-39 years old, single, their education level were Bachelor’s degree. Most of them were company employees earning 10,001-15,000 baht and residents of northeastern region. 2) The overall factor influencing on tourist decision making to Bangsean beach was in moderate level by the most important transport factor and the lowest advertising factor. 3) The tourism behavior analysis of Thai tourists showed that they had traveled to Bangsean beach 1-2 times before the current trip. Those tourists planned the trip themselves and traveled with their families. They felt moderately satisfied with the current trip. Most tourists have come by their own car. The duration of each stay was 1-2 days, chose bungalows/resort as the resting place, spent on average between 1,001-2,000 baht per time. Eating was activity which most of Thai tourists liked. Received advice concerning tourist attraction sites from friends, acquaintances, relatives and intended to come back to the Bangsean beach again. 4) The analysis of the relationships between the personal data and the factors affecting on traveling showed that sex, age, average monthly income, place of living were significantly different. The analysis of the relationship between the personal data and tourism behavior showed that age, average monthly income, place of living were significantly different, sex was not significantly different with tourism behavior at the 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145827.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons