Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/221
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุทธีพร มูลศาสตร์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | อรวรรณ เกียรติกุลพงศ์, 2511 | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-04T02:57:16Z | - |
dc.date.available | 2022-08-04T02:57:16Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/221 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับของวัฒนธรรมองค์การ อย่างสร้างสรรค์ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและการจัดการความรู้ ในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัด สุราษฎร์ธานี (2) อำนาจในการทำนายการจัดการความรู้ ในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานตำแหน่งพยาบาลประจำการไม่น้อยกว่า 1 ปี ในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 128 คน ที่ได้รับการ คัดเลือกจากการสุ่มกลุ่มตัวอยางแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ในการวิจัย ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามวัฒนธรรมองค์การอย่างสร้างสรรค์ แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และ แบบสอบถามการจัดการความรู้ โดยแบบสอบถามได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดย ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาแต่ละฉบับเท่ากบั 0.86, 0.87 และ 0.91ตามลำดับ และได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคแต่ละฉบับเท่ากับ 0.96 ,0.98 และ 0.99 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ของเพียรสัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) วัฒนธรรมองค์การอย่างสร้างสรรค์ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง โดยรวมอยูในระดับสูง ส่วนการจัดการความรู้โดยรวมอยูในระดับปานกลาง (2) วัฒนธรรมองค์การ อยางสร้างสรรค์ และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง เป็นตัวแปรที่ร่วมทำนายการจัดการความรู้ได้ร้อย ละ 70.8 (𝑅2 = .708 , p< .05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.306 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | - |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.source.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วัฒนธรรมองค์การ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาล | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | การบริหารองค์ความรู้ | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การอย่างสร้างสรรค์ ภาวะผู้นำ การเปลี่ยนแปลง และการจัดการความรู้ในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Relationships among constructive organizational cultures, transformational leadership, and knowledge management in Community Hospitals, Surat Thani Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2014.306 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: ( 1) to study the level of constructive organizational cultures, transformational leadership, and knowledge management at community hospitals in Surat Thani province, and (2) to examine the predictive power of constructive organizational cultures, transformational leadership on knowledge management at community hospitals in Surat Thani province. The sample included 128 professional nurses who had worked at community hospitals, Surat Thani province for at least one year. The stratified random sampling technique was employed. The research instruments included personal data, constructive cultures questionnaires, transformational leadership of head nurses questionnaires and knowledge management questionnaires. All questionnaires were examined for content validity by 3 experts. The content validity indexes of these questionnaires were 0.86, 0.87, and 0.91 respectively. Cronbach' s alpha reliability coefficients of these questionnaires were 0.96, 098 and 0.99 respectively. Data were analyzed by using frequency, mean, percentage, standard deviation, Pearson product moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The research findings were as follows. ( 1) Professional nurses rated their constructive organizational cultures and transformational leadership at the high level. They also rated their knowledge management at the moderate level. (2) The constructive organizational cultures and transformational leadership could predict knowledge management. These predictors accounted for 70.8 % (𝑅2 = .708, p < .01) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | ฉบับเต็ม | 21.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.