Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/224
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มาลี สุรเชษฐ | th_TH |
dc.contributor.author | ปรียชาต การปลื้มจิตต์, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-04T03:37:12Z | - |
dc.date.available | 2022-08-04T03:37:12Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/224 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการค้ำประกันในสัญญาสําเร็จรูป 2) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและผลของกฎหมายคํ้าประกัน กรณีสัญญาสําเร็จรูปที่มีอยูในปัจจุบัน 3) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและผลของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของไทยเปรียบเทียบกับกฎหมายของต่างประเทศ 4) เพื่อเสนอแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายไทย ให้มีความเหมาะสมและเป็นธรรม สอดคล้องกับนานาประเทศ วิทยานิพนธ์เรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเป็นวิจัยเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้า จากตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตํารา หนังสือ บทความทางวิชาการ แนวคําพิพากษาศาลฎีกา รวมทั้งการศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ โดยรวบรวมและเปรียบเทียบอย่างเป็นระบบ ผลการศึกษาพบว่า 1) สัญญาคํ้าประกน คือสัญญาที่บุคคลภายนอกผูกพันตนต่อเจ้าหนี้ ชําระหนี้แทนลูกหนี้ ถ้าลูกหนี้ไม่ชําระหนี้ซึ่งกฎหมายที่ดี ยอมคุ้มครองผู้ค้ำประกันให้ได้รับความเป็นธรรมด้วย โดยเฉพาะในสัญญาสําเร็จรูป 2) กฎหมายต่างประเทศมีการคุ้มครองผู้คํ้าประกันสัญญาสําเร็จรูปโดย นําแนวคิดเรื่องการชําระหนี้ที่ไม่ได้สัดส่วนกับรายได้ และหลักสุจริตมาจํากัดความรับผิดของผู้คํ้าประกันเพื่อสร้างความเป็นธรรม 3) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของไทยมีปัญหา คือความรับผิดของผู้คํ้าประกันเป็นภาระมากเมื่อเทียบกับรายได้หรือฐานนะของผู้คํ้าประกัน และในกรณีสัญญาสําเร็จรูปที่ผู้ค้ำประกันด้อยก่วาทั้งความรู้ และอํานาจต่อรองได้สร้างภาระอย่างมากให้ผู้ค้ำประกัน 4) ข้อเสนอแนะคือ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของไทยควรมีการปรับปรุงให้มีความเหมาะสม และเป็นธรรม สอดคล้องกับนานาประเทศ ในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ 4.1 การจํากัดวงเงินความรับผิดของผู้คํ้าประกัน 4.2 การระบุสิทธิ์เกี่ยงของผู้คํ้าประกันให้ชัดเจนในสัญญา 4.3 การให้เจ้าหนี้มีหน้าที่แจ้งผู้คํ้าประกันทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของจํานวนเงินของหนี้อยางน้อยปี ละครั้ง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.28 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กฎหมายแพ่งและพาณิชย์--ค้ำประกัน | th_TH |
dc.title | ความรับผิดของผู้ค้ำประกันในสัญญาสำเร็จรูป | th_TH |
dc.title.alternative | The liability of guarantors in the standard contracts | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2018.28 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.28 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This thesis has the purposes to 1) study the concepts of theories and rules related to guarantees in the standard contracts, 2) to study the problems and results of the law of guarantee in the case of the standard contracts that is currently available, 3) to analyze problems and results of the Thai Civil and Commercial Code and foreign laws, and 4) to propose guidelines for improving Thai law to be appropriate, fair, and comply with those of many countries. This thesis is a qualitative research which is a research document by studying and researching from relevant laws, textbooks, books, academic articles, and judgment of the Supreme Court, including the study of information from the internet in both Thai language and English, and it is collected and compared systematically. From the result of the study, it is found that 1) the contract of guarantee is the contract that a third party been bound to a creditor to repay the debts instead of the debtors if the debt has not been paid. The good law should protect the guarantor fairly, especially in the standard contracts, 2 ) Foreign law protects the guarantors of standard contracts by raising the concept of debt payment that is not proportional to income and good faith principles to limit liability of the guarantor to create fairness, 3) the Thai Civil and Commercial Code has a problem on the liability of the guarantor as it is a great burden compared to the income or the base of the guarantor. In the case that the standard contracts in which the guarantor is inferior on both knowledge and bargaining power, it creates a huge burden for the guarantor. The Thai Civil and Commercial Code should be revised to be appropriate, fair, and comply with those of many countries in the following issues: 4.1 Limitation of the guarantor's liability limit, 4.2 The clear specification on the rights of guarantors in the contract, and 4.3 The action to allow the creditors to have a duty to notify the guarantor of the change of the amount of the debt at least once a year. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สิริพันธ์ พลรบ | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib161725.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License