Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2261
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโอภาวดี เข็มทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมชาย ปุณยฤทัยพงศ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-29T07:05:49Z-
dc.date.available2022-11-29T07:05:49Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2261-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติงานของ เจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรในจังหวัดลำปาง (2) ศึกษาระดับความพึงพอใจจากปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรในจังหวัคลำปาง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การวิจัยเรึ่อง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ การเกษตรในจังหวัดลำปางเป็นการวิชัยเชิงปริมาณประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือสหกรณ์การเกษตรในจังหวัด ลําปางจำนวน 18 สหกรณ์โดยเจาะจงเลือกผู้ตอบแบบสอบถามจากผู้จัดการผู้ช่วยผู้จัดการ เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหน้าที่การเงิน เจ้าหน้าที่บัญชี เจ้าหน้าที่สินเชื่อ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมอาชีพ เจ้าหน้าที่การตลาด เจ้าหน้าที่ คอมพิวเตอร์และเจ้าหน้าที่อื่นๆ จำนวน 146 ราย เครึ่องมีอที่ใช้เปืนแบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ใด้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ในการประมวลผล ผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ เฉลี่ย 36 ปี สมรสแล้ว คุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี มีระยะเวลาตำรงตำแหน่ง เฉลี่ย 11 ปี ได้รับเงินเดือน เฉลี่ย 15,300.-บาท รายได้อื่นๆ จากสหกรณ์เฉลี่ย 1,860.-บาทด่อเดือนและมีค่าใชัจ่ายเฉลี่ย 13,700.-บาทต่อเดือน (2) ปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรในจังหวัดลำปาง มีความต้องการปัจจัย 2 ด้าน คือ ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุน (3) ความพึงพอใจจากปัจจัยจูงใจ อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่ามากไป น้อย งานที่ปฏิบัติเป็นงานที่น่าสนใจต้องอาศัยความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ท้าทายให้ปฏิบัติ งานที่ปฏิบัติได้รับ มอบหมาย มอบอำนาจและความรับผิดชอบอย่างเต็มที่ งานที่ปฏิบัติมีความก้าวหน้าและได้รับการพัฒนา ความรู้เพิ่มเติม ได้รับการยอมรับนับถือจากผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงานและสมาชิก ในการ ปฎิบัติงานสามารถแกัไขปัญหาหรือป้องกันปัญหาในการทำงานได้ และความพึงพอใจจากปัจจัยค้ำจุนอยู่ใน ระดับมาก โดยเรียงลำดับค่ามากไปน้อย ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชาและเพื่อน ร่วมงาน ตำแหน่งหน้าที่ในหน่วยงานเป็นที่ยอมรับในสังคม มีเกียรติและศักดิ์ศรี นโยบายและการบริหาร จัคการของสหกรณ์ ความยุิธรรมของผู้บังคับบัญชา สถานที่ อุปกรณ์ และสภาพในการทำงาน งานที่ปฏิบัติมี โอกาสที่จะได้รับความกัาวหน้าในอนาคต เงินเดือนและการเลี่อนขั้นเงินเดือน และอยู่ในระดับมากที่สุด ความรู้สึกต่อสหกรณ์ ความมั่นคง ปลอดภัยในการทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรจังหวัดลำปาง--พนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรในจังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to work effectiveness of agricultural cooperatives' staffs in Lampang Povinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122032.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons