Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2287
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรรณิการ์ ทองมวล, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-01T03:30:25Z-
dc.date.available2022-12-01T03:30:25Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2287-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสังเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนของไทยในแต่ละภูมิภาค 2) เพื่อศึกษาว่าปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนของ งานวิจัยในประเทศไทยว่ามีความสอดคล้องกับทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจแบบต่างๆ อย่างไร การศึกษาครั้งนี้เป็นการสังเคราะห์ช้อมูลทุตยภูมิ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และดุษฎี นิพนธ์ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จำนวน 36 งานวิจัยในภูมิภาคต่างๆ ของไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2540-2550 และใช้ค่า สถิติ สหสัมพันธ์เชิงอันดับของสเปืยร์แมน ทดสอบ ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในแต่ละภูมิภาค จากผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ของแต่ละภูมิภาคมีปัจจัยที่สำคัญ แตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค ดังนี้ ภาคเหนือ ได้แก่ 1) การดำเนินการตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง 2) กลุ่มและเครือข่าย 3) ความเชื่อวัฒนธรรมและจิตสำนึกที่รักชุมชนของตนเอง ภาค กลางได้แก่ 1) การดำเนินการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 2) กลุ่มและเครือข่าย 3) ความร่วมมือ และการมีส่วนร่วม การจัดทำแผนชุมชน และการบริหารจัดการชุมชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ 1) การดำเนินการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 2) การจัดการด้านการผลิต 3) ทุนและการ สะสมทุน ภาคใต้ ได้แก่ 1) การดำเนินการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 2) ความเชื่อ วัฒนธรรม และจิตสำนึกที่รักชุมชนของตนเอง 3) การจัดการทรัพยากรในชุมชน เมื่อทดสอบสหสัมพันธ์เชิง อันดับของสเปืยร์แมน แล้วพบว่าปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนของแต่ละภูมิภาค มี ความสัมพันธ์กัน และไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 2. ปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในภาคต่างๆ ของประเทศไทยดังที่ กล่าวมาข้างต้นมีความสอดคล้องกับทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจของ จอห์น เมนาร์ด เคนส์ ฮาร์รอด-โดมาร์ เนอร์กเซ เจ. ฮอลมเบอร์ก และอาร์ แซนบ}ค อี เอฟ. ชุมาเคอร์ ปรัชญา แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงและแนวคิดทุทธเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง -- วิจัย -- การประเมินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeA synthesis of research studies on economic community development in Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122336.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons