Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2295
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลลินี มุทธากลิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกุณธีรา ศรีสุราช, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-01T06:59:01Z-
dc.date.available2022-12-01T06:59:01Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2295-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาค่าความโน้มเอียงหน่วยสุดท้ายในการบริโภค (MPC) 2) เปรียบเทียบผลของการใช้จ่ายตามโครงการเช็คช่วยชาติตามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดนครพนม ตามทฤษฎีกระบวนการทำงานของตัวทวี ของผู้มีสิทธิรับเช็คช่วยชาติ จำนวน 3 กลุ่ม ซึ่งแยกตาม สถานะทางเศรษฐสังคมของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้แก่ กลุ่มบุคลากรภาครัฐ กลุ่มผู้ประกันตน และกลุ่มผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ ในจังหวัดนครพนม ในปี พ.ห. 2552 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นตัวเลขสถิติแบบทุติยภูมิ ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ระหว่างปี พ.ศ. 2537-2552 และวิเคราะห์โดยใช้สมการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Analysis) ที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างรายได้ประจำหลังหักภาษี (ตัวแปรอิสระ) กับ ค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค (ตัวแปรตาม) จากผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ มีค่าความโน้มเอียงหน่วยสุดท้าย ในการบริโภคเท่ากับ 0.920 กลุ่มผู้ประกันตน เท่ากับ 0.556 และกลุ่มบุคลากรภาครัฐ เท่ากับ 0.477 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานการวิจัยที่ว่าค่าความโน้มเอียงหน่วยสุดท้ายในการบริโภค (MPC) ส่วน บุคคล ณ ระดับรายได้สูง จะมีค่าต่ำกว่าค่าความโน้มเอียงหน่วยสุดท้ายในการบริโภค (MPC) ส่วน บุคคล ณ ระดับรายได้ต่ำ ตามทฤษฎีการบริโภคของเคนส์ 2) กลุ่มผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ ค่าตัวทวี ของการใช้จ่ายเงินโอนภาครัฐเท่ากับ 2.876 กลุ่มผู้ประกันตน เท่ากับ 1.252 และกลุ่มบุคลากร ภาครัฐ เท่ากับ 0.912 ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลตามโครงการเช็ค ช่วยชาติสามารถกระตุ้นเศรษฐกิจในระยะสั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพในกลุ่นผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ และกลุ่มผู้ประกันตน เนื่องจากการใช้จ่ายเงินโอนภาครัฐส่งผลทำใหัระดับการบริโภคของจังหวัด นครพนม เพิ่มสูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโครงการเช็คช่วยชาติth_TH
dc.subjectค่าใช้จ่ายth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.subjectการวิเคราะห์และประเมินโครงการth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ผลกระทบของโครงการเช็คช่วยชาติ 2,000 บาทต่อการใช้จ่ายบริโภคในจังหวัดนครพนมth_TH
dc.title.alternativeAn analysis of the effect of 2,000 bath cash handout on the consumption in Nakhophanom provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118954.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons