Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2313
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิตติยา สุขวัฒนา, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-02T06:58:45Z-
dc.date.available2022-12-02T06:58:45Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2313-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของการจัดเก็บภาษี 2) ประสิทธิภาพ การจัดเก็บภาษี และ 3) ความยืดหยุ่นของผลการจัดเก็บภาษีเงินได้ของสำนักงานสรรพากรพื้นที่ สมุทรปราการ วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิแบบอนุกรมเวลา ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสมุทรปราการ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติ บุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ ค่าใช้จ่ายและอัตรากำลัง เจ้าหน้าที่ของสำนักงานสรรพากร พื้นที่สมุทรปราการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์สัดส่วนภาษีต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ดัชนีความพยายามในการจัดเก็บรายได้ สัดส่วนภาษีต่อค่าใช้จ่าย และประมาณค่าด้วยสมการ ถดถอยลอกการิทึม ผลการศึกษาพบว่า 1) ภาษีเงินได้นิติบุคคลมีผลการจัดเก็บสูงที่สุดทั้ง 3 พื้นที่ รองลงมา คือ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามลำดับ 2) ภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาของสำนักงานสรรพากรพื้นที่สมุทรปราการ 3 ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีธุรกิจเฉพาะของ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สมุทรปราการ 2 และ 3 มีค่าดัชนีความพยายามในการจัดเก็บภาษีมากกว่า หนึ่ง สัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อผลการจัดเก็บภาษีของสำนักงานสรรพากรพื้นที่สมุทรปราการ 1 2 และ 3 มีรายจ่ายเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 0.41 0.27 และ 0.20 ตามลำดับ สัดส่วนค่าใช้จ่ายต่ออัตรากำลัง เจ้าหน้าที่ เท่ากับ 400,840.90 409,093.20 และ 373,672.20 บาทต่อคนตามลำดับ และสัดส่วนผล การจัดเก็บต่ออัตรากำลังเจ้าหน้าที่ 1 คนเฉลี่ยเท่ากับ 99.47 161.78 และ 197.34 ล้านบาทต่อคน และ 3) ความยืดหยุ่นของผลการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่มของทั้ง 3 แห่ง มีค่ามากกว่าหนึ่งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจัดเก็บภาษี -- ไทย -- สมุทรปราการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleประสิทธิภาพและความยืดหยุ่นในการจัดเก็บภาษีของสำนักงานสรรพากรพื้นที่สมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeEfficiency and elasticity in the taxation of Samut Prakan Area Revenue Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to compare:1) general conditions of taxation, 2) tax efficiency and 3) elasticity of revenue collection results of SamutPrakan Area Revenue Office. This study was quantitative research using time series data of Samutprakan's Gross Domestic Product, Personal Income Tax, Corporate Income Tax, Value Added Tax, Specific Business Tax, Expenses and staffing rates of SamutPrakan Area Revenue Office. Tax ratio to Provincial Gross Domestic Product, Tax Collection Effort Index, Tax ratio to expenses, and regression logarithm function were used for analyzing the data. The results showed that 1) Corporate Income Tax was highest in all 3 areas, followed by Value Added Tax, Personal Income Tax and Specific Business Tax, respectively. 2) Personal Income Tax of SamutPrakan Area Revenue Office 3, Value Added Tax and Specific Business Tax of SamutPrakan Area Revenue Office 2 and 3 are more than one in effort index. The ratios of expenses to tax collection of SamutPrakan Area Revenue Office 1 2 and 3 was 0.41, 0.27 and 0.20 percent, respectively. The ratios of expenses to staffs were 400,840.90 409,093.20 and 373,672.20 baht respectively. And the ratios of storage to staffs were at average of 99.47 161.78 and 197.34 million baht per person. And 3) the elasticities of Corporate Income Tax and Value Added Tax in all 3 areas are more than oneen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156355.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons