Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2370
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดวงใจ พรหมมินทร์, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-08T03:33:23Z-
dc.date.available2022-12-08T03:33:23Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2370-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว รวมทั้ง ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลของผลการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล และ ภาษีมูลค่าเพิ่มของกรมสรรพากรต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และ 2) การตอบสนองต่อความ แปรปรวนของผลการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่มของ กรมสรรพากรกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศไทย วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิแบบอนุกรมเวลารายไตรมาส ทั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2537 ถึงไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2559 รวมทั้งสิ้น 92 ไตรมาส ประกอบด้วย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม และผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศไทยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโดยใช้แบบจำลอง Vector Autoregressive Regressive (VAR) และใช้วิธีการประมาณการร่วมกับแบบจำลอง VAR ได้แก่ การทดสอบความนิ่งของข้อมูล การทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว การทดสอบความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล และ การวิเคราะห์ปฏิกิริยาตอบสนองต่อความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า 1) ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม และผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศมีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว และความสัมพันธ์เชิงเหตุ และผลพบว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภาษีทั้ง 3 ประเภท แต่ภาษีทั้ง 3 ประเภท ไม่ส่งผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 และ 2) เมื่อเกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีมูลค่าเพิ่มพบว่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศตอบสนองในทิศทางเดียวกันกับภาษีบุคคลธรรมดาและภาษีมูลค่าเพิ่ม ส่วนภาษีเงินได้ นิติบุคคลการตอบสนองของผลิตภัณฑ์มวลรวมเป็นไปในทิศทางตรงกันข้ามth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศth_TH
dc.subjectภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาth_TH
dc.subjectภาษีเงินได้นิติบุคคลth_TH
dc.subjectภาษีมูลค่าเพิ่มth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีมูลค่าเพิ่มกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe relationship among the personal income tax, corporate income tax, value added tax and gross domestic productth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: 1) investigate the long-term equilibrium relationship and the casual relationship among the Personal Income Tax. Corporate Income Tax. Value Added Tax and the Gross Domestic Product and. 2) examine the response of Gross Domestic Product (GDP) to the Personal Income Tax. Corporate Income Tax and Value Added Tax. The study was quantitative research using time-series secondary data including the Personal Income Tax. Corporate Income Tax. Value Added Tax and Gross Domestic Product. Vector Autoregressive Regressive (VAR) was employed in tins study together with many tools including unit root test, cointegration, causality and impulse response analysis. The results showed that 1) all variables in the study including Personal Income Tax. Corporate Income Tax. Value Added Tax and Gross Domestic Product (GDP) have the long-term equilibrium relationship. The casual relationship results revealed that Gross Domestic Product affects on all three types of taxation, but taxes do not effect on economic growth at the .05 significance level; and 2) The results from the impulse response analysis showed that the responses of Gross Domestic Product to Personal Income tax and Value added tax were in the same direction, while its response to corporate tax was in the opposite directionen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155659.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons