Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2383
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมบัติ พันธวิศิษฎ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ธนิตา อาจชารี, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-08T08:45:29Z | - |
dc.date.available | 2022-12-08T08:45:29Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2383 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปและปัญหาของการปลูกข้าวหอมมะลิ อินทรีย์กับการปลูกข้าวหอมมะลิแบบใช้สารเคมี 2) ศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกข้าวหอม มะลิอินทรีย์กับการปลูกข้าวหอมมะลิแบบใช้สารเคมี และ 3) วิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนผลตอบแทนของ การปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์กับการปลูกข้าวหอมมะลิแบบใช้สารเคมี ในตำบลนาเวียง อำเภอเสนานิคม จังหวัดอำนาจเจริญ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยเกษตรจานวน 97 ครัวเรือน ในปีการเพาะปลูก 2554/55 แบ่งเป็นเกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์ 22 ราย ปลูกแบบใช้สารเคมี 75 ราย เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1) ตำบลนาเวียง มีพื้นที่ปลูกข้าว 5,787 ไร่ ปลูกแบบเกษตรอินทรีย์ ร้อยละ 14.03 ปลูกแบบใช้สารเคมี ร้อยละ 85.97 ครัวเรือนที่ปลูกข้าวมีจานวน 343 ครัวเรือน ปลูกแบบเกษตร อินทรีย์ร้อยละ 8.45 ปลูกแบบใช้สารเคมีร้อยละ 91.55 การถือครองที่ดินของกลุ่มเกษตรร้อยละ 100 มีที่ดิน ทำกินเป็นของตัวเอง ปัญหาที่พบ 3 อันดับแรกคือ โรคแมลงและศัตรูพืช ค่าจ้างแรงงาน และต้นทุนสูง 2) ต้นทุนรวมการปลูกข้าวหอมมะลิแบบเกษตรอินทรีย์เฉลี่ยเท่ากับ 2,972.65 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย เท่ากับ 286.55 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้เฉลี่ยเท่ากับ 5,874.28 บาทต่อไร่ ต้นทุนรวม การปลูกข้าวหอมมะลิ แบบใช้สารเคมีเฉลี่ยเท่ากับ 3,205.66 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 288.85 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้เฉลี่ย เท่ากับ 5,606.58 บาทต่อไร่ 3) การปลูกข้าวหอมมะลิแบบเกษตรอินทรีย์ มีกำไรสุทธิสูงกว่าการปลูกแบบ ใช้สารเคมีเฉลี่ย เท่ากับ 500.71 บาทต่อไร่ โดยผลการทดสอบความแตกต่างของต้นทุนและผลตอบแทน ของการผลิตทั้งสองแบบพบว่า ต้นทุนการผลิตไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนผลตอบแทนแตกต่าง กันอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ข้าวหอมมะลิ -- การปลูก | th_TH |
dc.subject | ข้าวหอมมะลิ -- ต้นทุนการผลิต | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนระหว่างการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์กับข้าวหอมมะลิแบบใช้สารเคมี ตำบลนาเวียง อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ ปีการเพาะปลูก 2554/55 | th_TH |
dc.title.alternative | A comparative analysis of costs and benefits between organic Hom Mali rice and chemical rice production Na Wiang Sub-district, Senangkhanikhom District, Amnatcharoen Province, crop year 2011/12. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were 1) explore the generalization and problem of organic Hom Mali rice and chemical rice production; 2) study the costs and benefits of organic Hom Mali rice and chemical rice production; and 3) comparatively analyze between organic Hom Mali rice and chemical rice production in Na Wiang Sub-district, Senangkhanikhom District, Amnatcharearn Province. The sample of the study comprised 97 farmers in crop year 2011/12, including 22 organic Hom Mali and 75 chemical rice farmers respectively. Questionnaire was used as the research tool to collect data from the farmers. Percentage and mean statistics were applied toanalyze the data. Research findings were as followings. 1) There were 5,787 rais of Hom Mali rice plantation in Na Wiang Sub-district, 14.03 and 85.7 percents of organic and chemical rice areas respectively. There were 343 rice farmer households, 8.45 and 91.55 percents of organic and chemical farmer households respectively. All farmers were land ownerships. The top three problems were insect and pest disease, wage and high cost respectively. 2) Average total costs of organic Hom Mali rice and chemical rice production were 2,972.65 and 3,205.66 baht per rai respectively. Average outputs of the organic and chemical rice production were 286.55 and 288.85 kilograms per rai respectively. Average incomes of the organic and chemical rice production were 5,874.28 and 5,606.85 baht per rai respectively. 3) Organic rice farming showed an average net profit higher than that of the chemical farming as 500.71 baht per rai. As comparing cost and benefit of these two production methods, there was no statistical different cost of production at a .05 level. | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
133909.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License