Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2393
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนงเยาว์ บำรุงราษฎร์, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-09T06:13:30Z-
dc.date.available2022-12-09T06:13:30Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2393-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบพฤติกรรมการออมและรูปแบบการ ออมของครัวเรือนในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล อำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ 2) วิเคราะห์ ปัจจัยที่มีผลต่อการออมของครัวเรือนในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล อำเภอบ้านแท่น จังหวัด ชัยภูมิ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่มีผลต่อการออมของครัวเรือนในเขตเทศบาลและนอกเขต เทศบาล อำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ การศึกษาครั้งนื้ได้ทำการวิเคราะห์โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องและข้อมูลปฐมภูมิ ซึ่งได้จากการเก็บข้อมูลจากการสำรวจโดยใช้การสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างตามแบบสอบถามที่กำหนด ขนาดของกลุ่มตัวอย่างใช้สูตรของ Taro Yamane ที่ระดับความคลาดเคลื่อนร้อยละ 10 ได้กลุ่มตัวอย่าง ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล จำนวนแห่งละ 100 ครัวเรือน รวมเป็น 200 ครัวเรือน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) ครัวเรือนนอกเขตเทศบาลจะมีการออมเงินมากกว่าครัวเรือนในเขต เทศบาล และครัวเรือนทั้งสองแห่งจะมีรูปแบบการออมเงินเหมือนกัน คือ ออมกับสถาบันการเงิน กลุ่มออมทรัพย์และกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง เงินออมต่อปีของครัวเรือนทั้งสองแห่งไม่เกิน 20,000 บาท และแรงจูงใจในการออมของครัวเรือนทั้งสองแห่งเหมือนกัน คือ เพื่อต้องการเตรียม ความพร้อมเข้าสู่วัยชรา 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการออมของครัวเรือนทั้งสองกลุ่มเหมือนกัน มีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 มี 1 ปัจจัย คือ รูปแบบการออมและปัจจัยที่มีผลต่อการออมของครัวเรือนทั้ง สองกลุ่มเมื่อนำมารวมกัน มี 3 ปัจจัย คือ ค่าใช้จ่ายในการบริโภค ค่าใช้จ่ายในการลงทุน และ รูปแบบการออม 3) ปัญหาค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคที่สูงขึ้นเป็นอุปสรรคที่ส่งผลต่อการออมของ ครัวเรือนทั้งสองแห่งเป็นอันดับแรกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการประหยัดและการออมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออมของครัวเรือนในเขตและนอกเขตเทศบาล : กรณีศึกษา อำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิth_TH
dc.title.alternativeComparison of factors affecting the saving behavior of households inside and outside municipality area : a case study of Banthaen District, Chaiyaphum Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to: 1) compare saving behavior and saving form of households inside and outside municipality area at Banthaen district, Chaiyaphum province; 2) analyze factors affecting the savings of households inside and outside municipality area at Banthaen district, Chaiyaphum province; 3) study problems and difficulties influencing the savings of households inside and outside municipality area at Banthaen district, Chaiyaphum province. The study used both primary and related secondary data. The primary data were collected from survey by interviewing the 200 specify samples calculated according to the Taro Yamane’s formula at level of errors 10%. The samples from each area inside and outside municipality comprised 100 households. Both descriptive and a multiple regression analysis were employed to investigate the data. The results of study showed as follows. 1) Households outside municipality area saved more money saving than the households inside municipality, and both groups had the same form of saving: saving with financial institutions, group saving, Village and Urban Community Funds. Their annual savings in each area were less than 20,000 baht and the saving incentive was old age preparedness. 2) Factor influencing household savings of each group, significance at level of 0.5, was same, i.e. savings form, and factors affecting the saving of both groups consisted of 3 factors, i.e. consumption expense, investment cost, and savings form. 3) The first main problem obstructing the savings of both groups was an increase of consumption expenditureen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143410.pdfเอกสารฉบับเต็ม971.98 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons