Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2405
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปัญญา หิรัญรัศมี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเชิดชัย พรหมแก้ว-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-13T02:46:11Z-
dc.date.available2022-12-13T02:46:11Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2405-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของสหกรณ์โคนมวังน้ำเย็น จำกัด จังหวัดสระแก้ว และสหกรณ์โคนมหนองม่วง จำกัด จังหวัดลพบุรี (2) เพื่อศึกษาขนาดสหกรณ์ ที่เหมาะสมกับปริมาณธุรกิจรวบรวมน้ำนมดิบของสหกรณ์โคนม (3) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะ การดำเนินธุรกิจรวบรวมน้ำนมดิบ ในแต่ละขนาดของสหกรณ์โคนม รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยศึกษาจาก ข้อมูลทุติยภูมิที่ได้ จากรายงานกิจการประจำปีของสหกรณ์ รายงานของผู้สอบบัญชีประจำปี ปีบัญชี 2548-2552 ผลการ ดำเนินธุรกิจของศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ เอกสารทางวิชาการ แนวคิดทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สำหรับการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ โดยใข้การวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ การวิเคราะห์งบการเงินโดยวิธี คูปอง การวิเคราะห์การจัดการ และการ วิเคราะห์การบริหารการผลิดและการวางแผนกำลังการผลิต เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า การบริหารจัดการศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบของสหกรณ์โคนมวังน้ำเย็น จำกัด มีรูปแบบการจัดการที่ดีกว่าศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบของสหกรณ์โคนมหนองม่วง จำกัด ซึ่งดำเนิน ธุรกิจเฉพาะธุรกิจรวบรวมน้ำนมดิบเพียงอย่างเดียว สำหรับด้านขนาดสหกรณ์มีความเหมาะสมกับ ปริมาณธุรกิจรวบรวมน้ำนมดิบ พบว่า ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบคลองหินปูนของสหกรณ์โคนมวังน้ำเย็น จำกัด มีขนาดการลงทุนที่เหมาะสม ส่วนศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบของสหกรณ์โคนมหนองม่วง จำกัด ต้องมีการจัดทำแผนเพิ่มปริมาณน้ำนมดิบจาก 12 ตัน/วันเพิ่มเป็น 15 ตัน/วันเพื่อให้คุ้มค่าการลงทุน ซึ่งการลงทุนสร้างศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบขนาด 20 ตัน ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงคือปริมาณน้ำนมดิบ ต่อวันที่จะทำการรวบรวมควรมีไม่ต่ำกว่าวันละ 15 ตัน เพื่อให้สอดคล้องปริมาณการบรรทุก โดย สหกรณ์โคนมควรมีปริมาณแม่โครีดนมจำนวน 1,533 ตัวและมีห้องวิเคราะห์คุณภาพน้ำนมดิบไวัด้วย เพื่อให้การบริหารจัดการศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบมีประสิทธิภาพสูงสุด การกำหนดสถานที่ก่อสร้างศูนย์ รวบรวมน้ำนมดินต้องให้สมาชิกทุกรายนำน้ำนมดิบส่งถึงศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบได้ภายใน 2 ชั่วโมง เพื่อรักษาคุณภาพน้ำนมดิบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์โคนม--การจัดการth_TH
dc.subjectน้ำนมดิบ--การผลิตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.subjectสหกรณ์โคนม--ไทย--สระแก้วth_TH
dc.subjectสหกรณ์โคนม--ไทย--ลพบุรีth_TH
dc.titleขนาดสหกรณ์โคนมที่เหมาะสมกับปริมาณธุรกิจth_TH
dc.title.alternativeAppropriated size of business quantity for Dairy Cooperativesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118504.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons