Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2413
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา ตั้งทางธรรมth_TH
dc.contributor.authorนิภาพร ทองหล่อ, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-13T04:18:50Z-
dc.date.available2022-12-13T04:18:50Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2413en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสภาพทาง เศรษฐกิจของจังหวัดพิจิตร และ 2) วิเคราะห์บทบาทของภาครัฐและปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจของจังหวัดพิจิตร การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยใช้แบบจำลอง สมการถดถอยพหุคูณวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกับปริมาณผลผลิต ทางการเกษตร รายได้เกษตรกร ปริมาณสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ กำลังแรงงาน รายจ่ายภาครัฐเพื่อ การบริโภค รายจ่ายภาครัฐเพื่อการลงทุน รายจ่ายรวมของหน่วยงานภาครัฐจากส่วนกลาง และรายจ่าย รวมของหน่วยงานส่วนท้องถิ่น โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิแบบอนุกรมเวลารายไตรมาส ตั้งแต่ปื พ.ศ.2544- 2553 ประมาณค่าพารามิเตอร์ ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด ผลการศึกษาสรุปได้ว่า 1) การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดพิจิตร ขึ้นอยู่กันสาขา การเกษตรเป็นหลัก โดยมีผลผลิตข้าวเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ รองลงมาคือสาขาการขายส่งขายปลีก และสาขาอุตสาหกรรม 2) ภาครัฐมีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ หากรายจ่ายภาครัฐ เพื่อการบริโภค และรายจ่ายภาครัฐเพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด เพิ่มขึ้น 0.7381 และ 0.4127 หน่วยตามลำดับ หรือถ้าพิจารณารายจ่ายรวมของหน่วยงานภาครัฐจาก ส่วนกลางและงบประมาณรายจ่ายส่วนท้องถิ่นพบว่าหากรายจ่ายรวมของหน่วยงานภาครัฐจากส่วนกลาง เพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเพิ่มขึ้น 0.3164 หน่วย ขณะที่รายจ่ายรวมของ หน่วยงานส่วนท้องถิ่นไม่มีนัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดพิจิตร ส่วนปัจจัยทาง เศรษฐกิจอื่นๆ มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดแสดงว่าเมื่อตัวแปรทาง เศรษฐกิจในกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นจะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดพิจิตรเพิ่มขึ้นด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนโยบายเศรษฐกิจ -- ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.subjectพิจิตร -- ภาวะเศรษฐกิจth_TH
dc.titleการวิเคราะห์บทบาทของภาครัฐและปัจจัยที่มีผลต่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดพิจิตรth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of the government role and factors that affect the economic growth of Phichit Province.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to 1) study the economic structure and economic situations of Phichit province; and 2) analyze the government role and factors that affect the economic growth of Phichit province. The study used both descriptive and quantitative analysis. The multiple regression models were used to analyze the relationship between Gross Provincial Product(GPP) and total agricultural production, farm income, volume of commercial bank credit, labor quantity, government consumption expenditure, government investment expenditure, total central government expenditure and total local government expenditure. Secondary data consisting of quarterly time series data during 2001-2010 were used to estimate parameters by the method of ordinary least squares. The study concluded that 1) the economic growth of Phichit province depended mainly on agricultural sector which rice farming was the main economic driver, followed by wholesale and retail sector and industrial sector respectively; and 2) the government sector has a vital role in the economic growth, i.e., an increase in one unit of government consumption expenditure and government investment expenditure resulted in an increase in 0.7381 and 0.4127 unit of GPP respectively, and an increase in one unit of total central government expenditure resulted in an increase in 0.3164 unit of GPP while total local government expenditure had no significant effect on economic growth, other economic factors were related in the same direction with GPP which meant that these variables had an effect on the economic growth of Phichit province.en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130943.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons