Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2419
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชฎาพร เลิศโภคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบัวเงิน ฟักศรี, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-14T06:40:23Z-
dc.date.available2022-12-14T06:40:23Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2419-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บทบาทและความสำคัญของการให้สินเชื่อบุคคลของธนาคารออมสิน 2) หลักการพิจารณาให้สินเชื่อของธนาคารออมสิน 3) ปัจจัยที่มีผลต่อการให้สินเชื่อบุคคลของธนาคารออมสินสาขาลพบุรี จังหวัดลพบุรี ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษามี 2 ส่วน ส่วนแรก เป็นข้อมูลทุติยภูมิ เก็บรวบรวมจากรายงานผลการดำเนินงานธนาคารออมสินสาขาลพบุรี จังหวัดลพบุรี รายงานประจำเดือน รายงานประจำปีธนาคารออมสิน ข้อมูลส่วนนี้นำมาวิเคราะห์เชิงพรรณนาบทบาทและความสำคัญของการให้สินเชื่อบุคคล และผลการดำเนินงานด้านสินเชื่อของธนาคารออมสิน ส่วนที่สอง เป็นข้อมูลทุติยภูมิ แบบอนุกรมเวลา รายไตรมาส ในช่วงไตรมาสที่หนึ่ง ปี 2548 ถึงไตรมาสสี่ ปี 2554 นำมาใช้วิเคราะห์เชิงปริมาณโดยใช้วิธีวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) การให้สินเชื่อบุคคลของธนาคารออมสินเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยกระตุ้นการใช้จ่ายของประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และช่วยให้เศรษฐกิจมีความเจริญเติบโต 2) การพิจารณาการให้สินเชื่อของธนาคารออมสินใช้หลักการพิจารณา 6 C’s ได้แก่ คุณสมบัติของตัวผู้ขอกู้ ความสามารถในการส่งชำระหนี้ เงินทุนในการดำเนินธุรกิจ หลักประกันการกู้ เงื่อนไขด้านสภาพแวดล้อม และความสามารถควบคุมการดำเนินการ ในส่วนของหลักพิจารณา 5 P’s ประกอบด้วย คุณสมบัติของตัวผู้ขอกู้ วัตถุประสงค์ของการกู้ยืม ความสามารถหารายได้เพื่อชาระหนี้ หลักประกันความเสี่ยงในการกู้ และ แนวโน้มในอนาคต 3) ปัจจัยที่มีผลต่อการให้สินเชื่อบุคคลของธนาคารออมสินสาขาลพบุรี จังหวัดลพบุรี คือ ปริมาณเงินฝากรวมของธนาคารออมสินสาขาลพบุรี อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดี ดัชนีราคาผู้บริโภค และ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ปัจจัยทั้งสี่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับปริมาณการให้สินเชื่อบุคคลของธนาคารออมสินสาขาลพบุรี จังหวัดลพบุรี ณ ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 สอดคล้องกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารออมสิน -- ไทย -- ลพบุรีth_TH
dc.subjectธนาคารออมสิน -- สินเชื่อth_TH
dc.subjectสินเชื่อธนาคารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการให้สินเชื่อบุคคลของธนาคารออมสินสาขาลพบุรี จังหวัดลพบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the provision of personal loan of the Government Savings Bank, Lopburi Branch, Lopburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to study 1) role and important of provision of personal loan of Government Savings Bank: GSB 2) the principle provision of personal loan of GSB bank; and 3) factors affecting the provision of personal loan of GSB bank, Lop buri branch, Lop Buri province. The study employed descriptive analysis to analyze general credit management and credit operation by using secondary data collected from operational monthly reports and annual report of Government Savings Bank in region 6. The study used data from office of the National Economic and Social Development Board, GSB bank and Bank of Thailand employed quantitative analysis. A multiple regression analysis was used to investigate the factor effecting the provision of personal loan of the bank by using quarterly time series data during year 2005 to 2011. The result of the study were as following. 1) The provision of personal loan of the bank is important factor to stimulate personal expenditure and enhance national economic growth. 2) The bank used 6 C’s and 5 P’s as a principle in analyze the provision of loan. The 6 C’s include character or qualification of the loaner, ability to pay the debt, business venture capital , loan collateral, environmental condition and control. The 5 P’s include personality of the loaner, purpose of loan, loan payment, protection risk and future prospect 3) Factors affecting the provision of loan were including ; deposit of bank, consumer price index, interest rate(MLR) and gross domestic product; at the 95 percent confidence level. These all factors had positive relationship with the provision of the bank loanen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134666.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons