Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2423
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาสินี ตันติศรีสุขth_TH
dc.contributor.authorบุญชนะ รังดิษฐ์, 2499-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-14T08:24:35Z-
dc.date.available2022-12-14T08:24:35Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2423en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ในการกำหนดจำนวนรถยนต์โดยสารและ จำนวนเที่ยววิ่งที่เหมาะสม ซึ่งทำให้เกิดต้นทุนรวมต่ำสุด โดยต้นทุนรวมคือ ผลรวมของต้นทุนของขสมก. และต้นทุนของผู้โดยสาร การศึกษาได้ใช้กรณีของเขตการเดินรถที่ 8 กองเดินรถที่ 3 ซึ่งมีเส้นทางการเดินรถทั้งหมด 4 เส้นทาง คือ สาย 22 สาย 134 ก. สาย 156 และสาย 178 และใช้วิธีการโปรแกรมเชิงเส้นตรงและวิเคราะห์ความไวเป็นเครื่องมือวิเคราะห์ผลที่ได้จากการศึกษาพบว่า จำนวนรถยนต์โดยสารที่เหมาะสมของเส้นทางการเดินรถสาย 22 134 ก. (ปรับอากาศ) 134 ก. (ธรรมดา) 156 และ 178 เท่ากับ 31 11 14 18 และ 55 คันต่อวันตามลำดับ สำหรับจำนวนเที่ยววิ่งที่เหมาะสมในช่วงชั่วโมงรีบเร่ง เท่ากับ 5 4 4 6 และ 5 เที่ยวต่อคันต่อวัน และในช่วงชั่วโมงปกดิเท่ากับ 6 10 10 5 และ 5 เที่ยวต่อคันต่อวัน ตามลำดับผลจากการวิเคราะห์ความไวพบว่า (1) ถ้าราคาน้ำมันเชื้อเพลิงเปลี่ยนแปลงไปร้อยละ 20 จะทำให้ต้นทุนรวมเปลี่ยนแปลงไปร้อยละ 0.32 ในทิศทางเดียวกัน แต่ไม่มีผลกระทบต่อจำนวน รถยนต์โดยสารและจำนวนเที่ยววิ่งที่เหมาะสม (2) ถ้าต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 มีผลทำให้ต้นทุนรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.83 แต่ไม่มีผลกระทบต่อจำนวนรถยนต์โดยสารและจำนวนเที่ยววิ่งที่เหมาะสม (3) ถ้าจำนวนรถยนต์โดยสารเพิ่มขึ้น 100 คัน มีผลกระทบต่อจำนวนรถยนต์โดยสารและจำนวนเที่ยววิ่งที่เหมาะสมของแต่ละสายทั้งในชั่วโมงรีบเร่ง และชั่วโมงปกติ (4) ถ้าเวลาที่ใช้ในการวิ่งบริการต่อเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 มีผลกระทบต่อจำนวนรถยนต์โดยสารและจำนวนเที่ยววิ่งที่เหมาะสมของแต่ละสายทั้งในชั่วโมงรีบเร่ง และชั่วโมงปกติข้อเสนอแนะ (1) ควรนำผลการวิจัยไปพิจารณาปรับปรุงการจัดจำนวนรถออกวิ่งและจำนวนเที่ยววิ่งออกบริการในแต่ละสายการเดินรถที่ทำการวิจัย (2) ควรขยายผลการวิจัยให้ครบทุกสายการเดินรถทั้งหมดของ ขสมก. (3) ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์เพื่อลดปัญหาการ ขาดทุนของ ขสมก.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectรถประจำทาง--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์ความเหมาะสมของจำนวนรถโดยสารและจำนวนเที่ยววิ่งขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of optimal frequency for buses trips in Bangkok Mass Transit Authorityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
85163.pdfเอกสารฉบับเต็ม826.82 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons