Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2450
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ส่งเสริม หอมกลิ่น | th_TH |
dc.contributor.author | ดารณี แสงแก้ว | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-19T07:41:05Z | - |
dc.date.available | 2022-12-19T07:41:05Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2450 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการส่วนท้องถิ่นนครสวรรค์ จำกัด 2) เปรียบเทียบระดับคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกสหกรณ์ และ 3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการส่วนท้องถิ่นนครสวรรค์ จำกัด ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ สมาชิกของสหกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 จำนวน 659 คน กำหนดขนาดตัวอย่าง จากสูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ที่ค่าความคลาดเคลื่อน 0.05 จำนวน 249 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที เอฟ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิก ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 62.2 อายุ 41-50 ปี ร้อยละ 48.6 รายได้ต่อเดือน 15,000-20,000 บาท ร้อยละ 46.2 ระดับการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี ร้อยละ 42.2 ตำแหน่งงานระดับชำนาญการ ร้อยละ 30.9 ระยะเวลาการเป็นสมาชิก 6-10 ปี ร้อยละ 43.0 จำนวนครั้งที่มาใช้บริการในรอบปีที่ผ่านมา 1-3 ครั้ง ร้อยละ 41.1 และ ประเภทการรับบริการสูงสุดคือ กู้เงินสามัญ ร้อยละ 52.2 ระดับคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน ทั้งนี้ ด้านการตอบสนองต่อลูกด้านสมาชิก ด้านความเชื่อถือไว้วางใจได้ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า สมาชิก ด้านการรู้จักและเข้าใจลูกค้า/สมาชิก และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับ 2) เปรียบเทียบระดับคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า สมาชิกที่มีเพศและจำนวนครั้งที่มาใช้บริการในรอบปีที่ผ่านมาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการ ทั้งในภาพรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนสมาชิกที่มีอายุรายได้ต่อเดือน ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน ระยะเวลาการเป็นสมาชิก และประเภทการรับบริการที่ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการในภาพรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ปัญหา และข้อเสนอแนะคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ ได้แก่ ควรเตรียมสถานที่จอดรถให้เพียงพอ ต้องการให้มีตู้เอทีเอ็มของสหกรณ์ และสถานที่ของสหกรณ์ไม่สะดวกในการติดต่อด้วยตนเองตามลำดับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการส่วนท้องถิ่นนครสวรรค์ จำกัด--ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--สหกรณ์ | th_TH |
dc.title | คุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการส่วนท้องถิ่นนครสวรรค์ จำกัด | th_TH |
dc.title.alternative | Service quality of Nakhon Sawan Local Government Savings Cooperative Limited | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to 1) study level of service quality of Nakhon Sawan Local Government Savings Cooperative Limited, and 2) compare level of service quality of cooperative classifying by personal factors of cooperative members of Nakhon Sawan Local Government Savings Cooperative Limited. The population of this study was 659 cooperative members on December 31st, 2018. The sample size of 249 was determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.05 and accidental sampling method. A tool employed in this study was questionnaires. Data was analyzed by using as follows frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and content analysis. The findings of the study indicated that 1) level of service quality of cooperative, overall, was at a high level in every aspect as of the following: client/member need response aspect, trustworthiness aspect, client/member reliability creation aspect, client/member realization and understanding aspect, and tangibility aspect, respectively. 2 ) The comparing level of service quality of cooperative classing by their personal factors, results showed that different for members with age, monthly income, level of education, position, membership time, and type of service that were different had shown their attitude towards the service quality in general and individual differently at 0.05 statistically significant level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ศิริลักษณ์ นามวงศ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
163410.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 254.1 kB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License