Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/245
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมาน กฤตพลวิมาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรวุฒิ โปษกานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปัญญาพน เจริญพานิช, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-05T02:29:25Z-
dc.date.available2022-08-05T02:29:25Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/245-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเป็นมาของระบบการคุ้มครอง และลักษณะที่ สำคัญของลิขสิทธิ์ข้างเคียง และธรรมสิทธ์ (2) ศึกษาเปรียบเทียบการคุ้มครองธรรมสิทธ์ในลิขสิทธิ์ และสิทธิข้างเคียงตามกฎหมายต่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายไทย (3) ศึกษาปัญหาการคุ้มครองธรรมสิทธี๋ในลิขสิทธิ์ และสิทธิข้างเคียงตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 และ (4) เสนอแนะแนวทางในการคุ้มครองธรรมสิทธิ์ในสิขสิทธ์และสิทธิข้างเคียง การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Quality Research) ซึ่งเป็นการวิจัยจากเอกสาร (Documentary Research) ได้แก่ หนังสือ บทความทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ ทั้งในสาขาวิชานิติศาสตร์ และสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง ตัวบทกฎหมายทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจนแนวคิดของนักวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยสรุปปัญหาและแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 แบ่งเป็น 2 กรณี กรณีแรกการคุ้มครองธรรมสิทธึในลิขสิทธิ์ แยกการพิจารณาได้ดังนี้ (1) ปัญหาโครงสร้างการคุ้มครองลิขสิทธิ์ ควรกำหนดโครงสร้างการคุ้มครองลิขสิทธิให้เป็นแบบระบบโครงสร้างคู่ (2) ปัญหาบทนิยามศัพท์ ควรบัญญัติและให้บทนิยามกำว่า “ธรรมสิทธิ์” ไว้ในกฎหมาย ปัญหาเกี่ยวกับขอบเขตแห่งสิทธิในการแสดงว่าตนเป็นผู้สร้างสรรค์ควรแก้ไขบทบัญญัติใหม่โดยใช้คำว่า “สิทธิในความเป็นผู้สร้างสรรค์” ปัญหาข้อจำกัดแห่งสิทธิในบูรณภาพของงาน ควรตัดกรณีของการตัดแปลงออกไป และปัญหาเกี่ยวกับประเภทของธรรมสิทธิ์ ยังไม่ควรกำหนดประเภทของธรรมสิทธิ์เพิ่มเติม (3) ปัญหาการเป็นผู้สร้างสรรค์และทรงธรรมสิทธิ์ ควรเพิ่มเติม บทบัญญัติสำหรับกรณีของผู้สร้างสรรค์ร่วมและผู้สร้างสรรค์ซึ่งเป็นนิติบุคคล (4) ปัญหาบุคคลซึ่งสามารถใช้ธรรมสิทธิ์ของผู้สร้างสรรค์ ควรกำหนดตัวบุคคลผู้ใช้ธรรมสิทธ์ให้ชัดเจนทั้งในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์มีทายาท และไม่มีทายาท (5) ปัญหาการโอนและสละธรรมสิทธิ์ของผู้สร้างสรรค์ ควรกำหนดให้ธรรมสิทธิ์!เป็นสิทธิที่ไม่สามารถโอนได้ แต่สามารถสละเสียได้ อย่างไรก็ตาม หากบริบทของประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไป อาจกำหนด ให้ธรรมสิทธิ์เป็นสิทธิที่ไม่สามารถโอนหรือสละเสียได้ (6)ปัญหาความรับผิดที่เหมาะสมและอายุความฟ้องร้อง ผู้ละเมิดธรรมสิทธิ์ ควรกำหนดให้ผู้ละเมิดธรรมสิทธิ์ต้องระวางโทษปรับทางอาญา โดยกำหนดให้เป็นความผิดอันยอมความได้ และรับผิดทางแพ่ง โดยการจัดการให้ชื่อเสียงหรือเกียรติคุณของผู้สร้างสรรค์กลับคืนดีเท่านั้น ทั้งนี้ควรกำหนดอายุความฟ้องคดีเช่นเดียวกับคดีลิขสิทธิ์ (7) ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างธรรมสิทธิ์กับข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธ์ ควรกำหนดให้ธรรมสิทธิ์เป็นส่วนหนี้งของข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธ์ (8) ปัญหาอายุแห่งการคุ้มครองธรรมสิทธิ์ การที่ปัจจุบันกฎหมายกำหนดอายุแห่งการคุ้มครองธรรมสิทธิ์ไว้ตลอดอายุแห่งการคุ้มครองลิขสิทธ์ยังถือว่ามีความเหมาะสม อย่างไรก็ตามหากบริบทของประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไป อาจกำหนดอายุแห่งการคุ้มครองธรรมสิทธ์ ใว้ตลอดกาลและ (9) ปัญหาเกี่ยวกับผลแห่งการ ที่ลิขสิทธิ์สิ้นสุดลง และการคงอยู่ของธรรมสิทธิ์กรณีสละลิขสิทธิ์ ควรเพิ่มเติมบทบัญญัติกรณีผลแห่งการที่ลิขสิทธิ์สิ้นสุดลง รวมทั้งการคงอยู่ของธรรมสิทธิ์กรณีสละลิขสิทธิ์ไว้ให้ชัดเจน กรณีที่สอง การคุ้มครองธรรมสิทธิ์ในสิทธิข้างเคียง แยกการพิจารณาได้ดังนี้ (1) ปัญหาเกี่ยวกับมาตรการคุ้มครองธรรมสิทธิ์ ควรเพิ่มเติมบทบัญญัติสำหรับการคุ้มครองธรรมสิทธิ์ของนักแสดง โดยบัญญัติครอบคลุมทั้งในกรณีโครงสร้างการคุ้มครองสิทธิ บทนิยามศัพท์ ประเภท ขอบเขตแห่งสิทธิ นักแสดงร่วมและการใช้ธรรมสิทธิ์บุคคลซึ่งสามารถใช้ธรรมสิทธิ์ การโอนและสละธรรมสิทธิ์ ความรับผิดที่เหมาะสมและอายุความฟ้องร้องผู้ละเมิดธรรมสิทธิ์ ความสัมพันธ์ระหว่างธรรมสิทธ์กับข้อยกเว้นการละเมิดสิทธิ อายุแห่งการคุ้มครอง และผลของสิทธิของนักแสดงสิ้นสุดลงกับการคงอยู่ของธรรมสิทธิ์ และ (2) ปัญหาเกี่ยวกับมาตรการคุ้มครองธรรมสิทธิ์ในงานที่จัดเป็นสิทธิข้างเคียง ควรบัญญัติให้เพียงสิทธิในการแสดงว่าตนเป็นผู้สร้างสรรค์เท่านั้น สำหรับกรณีของผู้สร้างสรรค์งานประเภทสิ่งบันทึกเสียงและงานแพร่เสียงแพร่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.125en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)-
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- กรรมสิทธิ์th_TH
dc.subjectการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาth_TH
dc.subjectลิขสิทธิ์th_TH
dc.subjectการคุ้มครองแบบผลิตภัณฑ์th_TH
dc.titleปัญหาการคุ้มครองธรรมสิทธิ์ในลิขสิทธิ์และสิทธิข้างเคียงตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537th_TH
dc.title.alternativeProblems of moral rights protection in copyright and neighbouring rights under the Copyright Act B.E. 2537th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.125en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are to (1) study the background of the protection system, important features of copyright, neighbouring rights and moral rights, (2) determine the comparison between the moral rights protection in the copyright and neighbouring rights under some foreign laws, international laws and Thai laws, (3) study the problems of the moral rights protection in the copyright and neighbouring rights under the Copyright Act B.E. 2537, and (4) issue the guidelines on moral rights protection in copyright and neighbouring rights. This research is the qualitative research conducted based on documentary research, including textbooks, academic articles, research reports, theses, doctoral dissertations, publications in the faculty of law and other relevant faculties, national and international provisions as well as relevant scholarly academic viewpoints. The results from this research revealed the problems and issued solutions for amending the Copyright Act B.E. 2537 were divided into 2 cases. The first case concerning protection of moral rights in the copyright were sub-categorized as follows; (1) the copyright protection’s structure was suggested to change to the dual structure system to solve the problem of the copyright protection’s structure; (2) the word “moral rights” was suggested to stipulate and define in the laws. The problem of unclear scope of the rights to clarify oneself as the author can be identified by defining the word “the rights of authorship” into the provision. The case of adjustment from the provision was suggested to be removed to avoid the problem of limitations on the rights to integrate works, but further types of moral rights was suggested to be additionally issued; (3) the provisions for the co-author and the juristic creator were suggested to be added to solve the problem of being the author and the holder of moral rights; (4) the problem of e: exercising others’ moral rights figured out by clarification of the moral right holder was suggested to be considered in both cases of whether the author has any inheritors or not; (5) problems of moral rights transfer or waiving could be resolved by designating moral rights as a non-transferable one but could be waived if the context of Thai provision changed. The moral rights could change and be designated as non-transferable or non-waivable; (6) the person breaching moral rights was suggested to be subjected to criminal line with compoundable offense and incurs civil liability in restoring the reputation or honour of the author to its good position to solve the problem of inappropriate liability and prescription, which was suggested to be fixed as that in the copyright case; (7) for solving the problems on relationship between moral rights and exemption from copyright infringement, moral rights was suggested to be designated as exemption from copyright infringement; (8) currently the laws stipulating the protection of moral rights throughout the term of copyright was appropriate. However, if the context of Thailand changed, the term of moral rights protection could be perpetual posting the problem on the term of moral rights protection; (9) the provisions on the effect of copyright termination was suggested to be provide for dissolving the problems on termination and survival of moral rights in case of copyright renunciation. The second case concerning the moral rights protection in the neighbouring rights that could be divided as follows; (1) the provisions on performer’s moral rights protection was suggested to be added and provided for the structure of right protection, definitions, type, scope of right, co-performer and use of moral rights, holder of moral rights, assignment and moral rights waiver, appropriate liability and prescription, relationships between moral rights and exemption from infringement of protection term and effect of performer’s rights termination and survival of moral rights and; (2) the moral rights protection measures allowing an author to enjoy the rights of identify of his work could also considered as the neighbouring rights. Previsions related to these measures were suggested to merely stipulate the rights to the author creating the sound recording and broadcasting worken_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128813.pdfเอกสารฉบับเต็ม27.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons