Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2460
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิทักษ์ ศรีสุกใส, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปริศนา ทองใบ, 2557--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-21T03:21:07Z-
dc.date.available2022-12-21T03:21:07Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2460-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1) อัตราผลตอบแทนของกองทุนรวมตราสาร ทุน ระหว่างกองทุนหุ้นที่มีปันผล และกองทุนหุ้นที่ไม่มีปันผล 2) ความเสี่ยงของกองทุนรวมตราสารทุน ระหว่างกองทุนหุ้นที่ปันผล และกองทุนหุ้นที่ไม่มีปันผล และ 3) ประสิทธิภาพในการบริหารงานของ กองทุนรวมตราสารทุน ระหว่างกองทุนหุ้นที่ปันผล และกองทุนหุ้นไม่มีปันผลของบริษัทหลักทรัพย์ จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด การศึกษาใช้ข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ คือมูลค่าทรัพย์สินสุทธิต่อหน่วยลงทุน ณ วันสิ้นเดือน ที่เป็นข้อมูลอนุกรมเวลารายเดือน ตั้งแต่ มกราคม 2550 - ธันวาคม 2556 จำนวนทั้งสิ้น 84 เดือน ของ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน บัวหลวง ได้แก่ กองทุนหุ้นที่มีปันผล และกองทุนหุ้นที่ไม่มีปันผล เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย อัตราผลตอบแทนของกองทุนรวม ความเสี่ยงของกองทุนรวม การหามูลค่า ความเสี่ยง และมาตรวัดผลการดำเนินงานของกองทุนรวมทั้ง 3 แนวคิด คือ 1) แนวคิดของชาร์ป 2) แนวคิดเทรนเนอร์ และ3) แนวคิดเจนเซน ผลการวิจัยพบว่า 1) กองทุนเปิดบัวหลวงทศพลให้อัตราผลตอบแทนสูงที่สุด ซึ่งเป็นกองที่ ไม่จ่ายปันผล ส่วนกองทุนเปิดประเภทอื่นที่นำมาศึกษานี้ให้ผลตอบแทนในค่าเฉลี่ยที่ใกล้เคียงกัน 2) ความเสี่ยงระหว่างกองทุนรวมตราสารทุน โดยประเมินผลจากค่าเฉลี่ยของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ชี้ว่ากองทุนรวมหุ้นที่ไม่จ่ายปันผลมีค่าเฉลี่ยของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ในช่วงตั้งแต่ร้อยละ 1.1046 ถึง ร้อยละ 2.147 ต่อปี ซึ่งสูงกว่ากองทุนหุ้นที่มีนโยบายการจ่ายปันผล ที่มีค่าเฉลี่ยของส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานร้อยละ 0.5147 ส่วนการใช้เทคนิคเทคนิคการพยากรณ์มูลค่าความเสี่ยงเพื่อแสดงระดับความ เสี่ยงของแต่ละกองทุนที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 นั้นกองทุนรวมหุ้นในกลุ่มที่จ่ายปันผลมีระดับความ เสี่ยงที่ต่ำกว่ากองทุนรวมหุ้นในกลุ่มที่ไม่จ่ายปันผล และ 3) ประสิทธิภาพในการบริหารกองทุนกองหุ้น ของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมบัวหลวง จำกัด ที่พิจารณาจากมาตรวัด 3 แบบ ชี้ว่า กองทุนที่มีค่า ดัชนีชาร์ป เทรนเนอร์ เจนเซน สูงที่สุดคือ กองทุนเปิดบัวหลวงทศพล ส่วนกองทุนที่มีค่าดัชนี ชาร์ป เทรนเนอร์ เจนเซน ต่ำที่สุดคือ กองทุนเปิดบัวหลวงโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งทั้งสองกองทุนนี้เป็นกองทุน ประเภทไม่จ่ายปันผลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด -- การลงทุนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการเปรียบเทียบความเสี่ยงและผลตอบแทนของกองทุนรวมตราสารทุนของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัดth_TH
dc.title.alternativeA comparative analysis of risks and returns for the equity fund of BBL Asset Management Company Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to compare 1) the rate of return between dividend and non-dividend equity funds of the BBL Asset Management Company Limited: 2) the risk between dividend and non-dividend equity fluids of the BBL Asset Management Company Limited: 3) the effectiveness of equity fund management between dividend and non-dividend equity funds of the BBL Asset Management Company Limited. This research used a secondary data of Net Asset Value (NAV) as at the last day of the month from January 2007 to December 2013, totally eighty four (84) months. This data comprised of the dividend equity funds and non-dividend equity funds.The research measured rate of return and risk by using the Value at Risk (VaR) technique and measured the effectiveness of Equity Fund Management by using performance measurement tools of Sharpe, Treynor and Jensen. The results showed that 1) Comparisons of rates of equity funds found Buakaew Income Fund (BKD), which is a dividend equity find, gave the highest rate of return. Those non-dividend equity funds gave almost the same rate of return. 2) Comparison of risk equity funds have the average standard deviation value in the range of between 1.1046% and 2.1472% per annum, which is higher than dividend equity fluids. Dividend equity funds have an average Standard Deviation value of 0.5147%. Using VaR to measure the risk of equity fluids in 95% credible levels found dividend equity funds have a lower risk than non-dividend equity funds. 3) Comparison of the effectiveness equity fund management equity funds utilizing Sharpe, Treynor and Jensen found that Bualuang Top Ten open-end Fund (BTP) had the highest ratio whilst Bualuang Infrastructure open-end Fund (B-INFRA) had the lowest ratio. Both of them are non-dividend equity fundsen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153246.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons