Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2470
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิทักษ์ ศรีสุกใส, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปิติพันธุ์ อ่อนจันทร์, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-21T06:59:24Z-
dc.date.available2022-12-21T06:59:24Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2470-
dc.description.abstractการศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะการออมของผู้ประกอบอาชีพอิสระ ในอำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจออมในกองทุนการออมแห่งชาติใน อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 3) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อจำนวนเงินออมในกองทุนการออมแห่งชาติใน อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามผู้ประกอบอาชีพอิสระ 7 กลุ่มอาชีพในอำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ จำนวน 400 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนาอธิบาย การศึกษาลักษณะการออม ใช้สมการถดถอยโลจิสติก อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจออม ในกองทุนฯ และสมการถดถอยพหุคูณอธิบายปัจจัย ที่มีผลต่อจำนวนเงินออมในกองทุนฯ ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีสัดส่วนเงินออมต่อรายได้เฉลี่ยร้อยละ 19.23 ออมเงินโดยการฝากออมทรัพย์กับธนาคารมากที่สุด ส่วนใหญ่มีการออมเพียงช่องทางการออมเดียว เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่ตัดสินใจออมและไม่ออมในกองทุนฯ พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ ตัดสินใจออมมีสัดส่วนเงินออมต่อรายได้และมีช่องทางการออมที่เป็นการออมระยะยาว สูงกว่ากลุ่มที่ ตัดสินใจไม่ออม กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 63.0 ไม่ทราบข้อมูลการจัดตั้งกองทุนฯ กลุ่มที่ ตัดสินใจออมในกองทุนฯ ส่วนใหญ่วางแผนที่จะออมจำนวน 500 บาทต่อเดือนและกลุ่มอาชีพ เกษตรกรรมมีสัดส่วนผู้ออมมากที่สุด 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจออมในกองทุนฯ ที่ระดับ นัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ เงินออมต่อเดือน การไม่มีหนี้สิน การครอบครองทรัพย์สินประเภท รถจักรยานยนต์และรถยนต์ และขนาดที่ดินที่ถือครอง มีผลต่อการตัดสินใจออมในทางบวก 3) ปัจจัยที่ มีผลต่อจำนวนเงินออมในกองทุนฯ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ เงินออมต่อเดือน รายได้ ต่อเดือนและรายจ่ายต่อเดือน โดยเมื่อปัจจัยดังกล่าวเพิ่มขึ้นร้อยละหนึ่งจะมีผลให้จำนวนเงินออมใน กองทุนฯ เปลี่ยนแปลงไปร้อยละ 2.90, 1.80 และ -1.20 ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการประหยัดและการออม -- ไทย -- กระบี่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการออมในกองทุนการออมแห่งชาติ กรณีศึกษาผู้ประกอบอาชีพอิสระในอำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting saving in national savings fund: a case study of the self-employment in Mueang Krabi District, Krabi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study: 1) The saving behavior of the self-employment in Mueang Krabi District, Krabi Province; 2) Factors affecting savings decision in National Savings Fund in Mueang Krabi District, Krabi Province; and 3) Factors affecting the amount of savings in National Savings Fund Mueang Krabi District, Krabi Province. This study collected data using the questionnaire to survey the selfemployment of seven careers in Mueang Krabi District, Krabi Province, included 400 subjects. The statistics used for analyzing the data were descriptive statistics to explain the savings behavior, logistic regression equation to explain the factors affecting savings decision in National Savings Fund and multiple regression equation to explain the factors affecting the amount of savings in the National Savings Fund. The results showed that: 1) the ratio of sample saving to income was 19.23 percent. The most samples saved their money through deposits at the commercial bank, and they had only one channel for savings. The ratio of saving to income and the long-term save of the saving samples in National Savings fund were higher than those of the non-saving samples. Most of the samples, about 63.0 percent did not know about the information of the National Savings Fund. Most of the saving samples in National Savings fund planned to save 500 baht per month and the proportion of farmer was larger than others. 2) the factors that affect savings decision in National Savings Fund at the 0.05 of significance level include the saving per month, the nonliabilities, motorcycle ownership, car ownership and size of land holding that affect positively with savings decision. 3) the factors affecting the amount of savings in National Savings Fund at the 0.05 of significance level include the saving per month, the income per month and the expenditures per month. In fact, one percent increase in those factors leads to 2.90, 1.80 and -1.20 percent change in the amount of saving in the fund, respectivelyen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151909.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons