Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2507
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัทรามาศ สุนทรพานิชกิจ, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-23T07:59:13Z-
dc.date.available2022-12-23T07:59:13Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2507-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปทางเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิก สหกรณ์การเกษตรในจังหวัดแม่ฮ่องสอน 2) ภาวะการเป็นหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรในจังหวัด แม่ฮ่องสอน และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทางเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร กับภาวะการเป็นหนี้ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง สมาชิกสหกรณ์ในแต่ละแห่ง จำนวน 150 ราย ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน โดยเลือกจากสหกรณ์ การเกษตรขนาดใหญ่ในแต่ละอำเภอ และทำการสัมภาษณ์ตัวต่อตัวจากสมาชิกสหกรณ์ ที่เข้ามารับบริการ ณ ที่ทำการของสหกรณ์การเกษตร และสุ่มจากสมาชิกสหกรณ์ที่มาเข้ารับการอบรมจากสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน และใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย จำนวน 4 คน เป็นครัวเรือนที่มีบุตรกำลังศึกษาอยู่และมีสมาชิกในครัวเรือนอย่างน้อย 2 คน ที่สามารถ สร้างรายได้ให้แก่ครัวเรือน สมาชิกส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนและไม่มีรายได้เสริม ครัวเรือนมี รายได้เฉลี่ย 101,280 บาทต่อปี มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 81,480 บาทต่อปี เป็นค่าใช้จ่ายด้านอาหารและเครื่องดื่ม 2) ภาวะการเป็นหนี้สมาชิกสหกรณ์การเกษตรมีภาระหนี้สินเฉลี่ย 105,000 บาทต่อครัวเรือน มีการกู้เงิน จากสหกรณ์ ในอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 6 ถึงร้อยละ 12 เพื่อนำไปลงทุนในการประกอบอาชีพ มีการเลือก ชำระคืนเป็นรายปี 3) ปัจจัยด้านค่าใช้จ่ายของสมาชิกสหกรณ์ มีความสัมพันธ์กับภาวะการเป็นหนี้เฉลี่ย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนปัจจัยด้านอื่น ได้แก่ปัจจัยด้านประเภทอาชีพทางการเกษตร ปัจจัยด้านสมาชิกในครัวเรือนและปัจจัย ระดับอัตราดอกเบี้ย ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะการเป็นหนี้เฉลี่ย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectครัวเรือน -- ไทย -- แม่ฮ่องสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.subjectหนี้th_TH
dc.titleหนี้ภาคครัวเรือนของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeHousehold debt of members of agricultural cooperative in Mae Hong Son Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were; 1) to explore the general socioeconomic characteristics of members of agricultural cooperatives in Mae Hong Son Province; 2) the indebtedness of members of agricultural cooperatives in Mae Hong Son Province; and 3) the relationship between economic and social variables of members of cooperatives and indebtedness status. This study used a questionnaire to collect data from a sample of 150 members of each cooperative, using multiple stages random sampling by choosing from a large agricultural cooperative in each district and a face to face interview by randomly sampling of cooperative members attending the services at the office of cooperatives and also randomly sampling from the cooperative members who participated in the training at the Cooperative Office of Mae Hong Son Province and using analysis of variance in the analysis. The results showed that 1) the most of cooperative members were male, the average household members was 4 persons per household with children were studying and at least 2 persons can generate income for households. The majority of household was gardening with no extra income. The average household income was 101,280 Baht per year, the average household expenditure was 81,480 Baht per year in food and drink. 2) the indebtedness status of agricultural cooperative members consisting of a debt of 105,000 Baht per household. The interest rates of the loan investing in their careers from cooperative were 6% to 12% and was repaid annually. 3) the expenditure of cooperative members was positively and significantly related to the average debt status at 0.05 whereas other factors such as type of occupation in agriculture, the numbers of members in the household and the interest rate were statistically insignificant with the indebtedness status at 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145048.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons