Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2519
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาสินี ตันติศรีสุขth_TH
dc.contributor.authorมนูญ ธนะสังข์, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-26T08:27:34Z-
dc.date.available2022-12-26T08:27:34Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2519en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของการให้บริการน้ำประปาในจังหวัดสงขลา 2) ความเป็นไปได้ด้านตลาด 3) ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค และ 4) ความเป็นไปได้ด้านการเงินของโครงการปรับปรุงขยายระบบประปาของการประปาส่วนภูมิภาค สาขาหาดใหญ่-สงขลา วิธีศึกษาสภาพทั่วไปของการให้บริการน้ำประปาในจังหวัดสงขลา ศึกษาความเป็นไปได้ด้านตลาดและด้านเทคนิคของโครงการปรับปรุงขยายระบบประปาเป็นการวิจัยเชิงพรรณนา การศึกษาความเป็นไปด้านการเงินเป็นการวิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยใช้หลักการวิเคราะห์ต้นทุน-ผลตอบแทนแบบคิดค่าปัจจุบันของเงิน โดยใช้เกณฑ์มูลค่าปัจจุบันสุทธิ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน และอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการ ระยะเวลาของโครงการ 25 ปี (พ.ศ.2557-2581) ผลการศึกษาพบว่า 1) การให้บริการน้ำประปาในจังหวัดสงขลา ยังไม่ทั่วถึงโดยพื้นที่บริการของการประปาส่วนภูมิภาคให้บริการเพียงร้อยละ 47 ของบ้านเรือน มีหมู่บ้านที่ยังไม่มีน้ำประปาใช้ร้อยละ 8 ของหมู่บ้านทั้งหมดและระบบประปาหมู่บ้านที่ใช้งานอยู่ยังไม่ได้มาตรฐานร้อยละ 26.5 ของหมู่บ้านทั้งหมด 2) โครงการปรับปรุงขยายมีความเป็นไปได้ด้านตลาด เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชาชนเมืองขยายตัวและการบริการน้ำประปาปัจจุบันยังไม่เพียงพอกับความต้องการ 3) โครงการปรับปรุงขยายมีความเป็นไปได้ด้านเทคนิคเนื่องจากสถานที่ตั้งโครงการแหล่งน้ำดิบและกระบวนการผลิตที่เหมาะสมกับการใช้งานและการดูแลรักษา 4) โครงการปรับปรุงขยายมีความเป็นไปได้ด้านการเงินเมื่อพิจารณากรณีค่าน้ำคงที่ที่ใช้เงินลงทุนจากเงินกู้ที่อัตราส่วนร้อยละ 100, 75, 50, 25 และกรณีไม่กู้เงินแต่ใช้เงินอุดหนุน ร้อยละ 100 มูลค่าปัจจุบันสุทธิมีค่าเท่ากับ 3294.32, 3472.11, 3751.91, 4074.70 และ 4110.20 ล้านบาทตามลำดับ อัตราผลตอบแทนต่อต้นทุนมีค่าเท่ากับ 1.49, 1.53, 1.60, 1.69 และ 1.70 ตามลำดับ และอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการเท่ากับร้อยละ 32, 33, 34.18, 35.3 และ 36.3 ตามลำดับ ซึ่งสูงกว่าอัตราคิดลดที่เป็นค่าเสียโอกาสของเงินทุนกำหนดไว้ร้อยละ 8.85th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการประปาส่วนภูมิภาค. โครงการปรับปรุงขยายระบบประปาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการปรับปรุงขยายระบบประปาของการประปาส่วนภูมิภาค สาขาหาดใหญ่-สงขลา จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeFeasibility study of the expansion and improvement of provincial waterworks authority in Hat Yai-Songkla branch in Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study: 1) the general background of the water supply service in Songkla province; 2) the market feasibility; 3) the technical feasibility; and 4) the financial feasibility of the expansion and improvement of Provinicial Waterworks Authority (PWA)’s water supply scheme at Hat Yai- Songkhla branch. Descriptive analysis was employed to explore the general background of the water supply service in Songkhla as well as market and technicial feasibility of the sheme. Quantitative method was applied to investigate the financial feasibility, including a Cost-Benefit Analysis at the present value of money, Net Present Value, Benefit/Cost ratio, and Internal Rate of Return. The project period was 25 years (i.e. 2014-2038) The research findings were as follows. 1) The water supply service in Songkhla province did not entirely cover the service areas: only 47.0 per cent of the households; 8.0 per cent of total villages did not access to the water supply scheme; and 26.5 per cent of the accessible villages did not have the standard scheme. 2) The project had market feasibility due to an increase of the population in urban areas and currently insufficient water supply to meet demand. 3) The project had technical feasibility owing to the location of raw water source, and the production process suitable for operation and maintenance. 4) The project had financial feasibility as considered through a fixed water tariff rate using investment capital derived from loan at the ratios of 100, 75, 50, 25 per cent, and from fully government subsidy. The Net-Present-Value return were 3,294.32, 3,472.11, 3,751.91, 4,074.70 and 4,110.20 millions of baht, respectively. The Benefit/Cost ratio were 1.49, 1.53, 1.60, 1.69 and 1.70 respectively. The Internal Rate of Return were 32, 33, 34.18, 35.3 and 36.3 per cent respectively, which were higher than the capital opportunity cost as set at 8.85 per cent.en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
132845.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons