Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2527
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorโยธิน โกมลตระกูลวัฒนา, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-12-27T04:24:33Z-
dc.date.available2022-12-27T04:24:33Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2527-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา..1) ความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว รวมทั้ง ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อราคาทองคำแท่งในตลาดโลก ได้แก่ อัตรา แลกเปลี่ยน (บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) อัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐอเมริกา อัตราเงินเฟ้อ สหรัฐอเมริกา ทุนทองคำ สำรองรวมของโลก และราคาน้ำมันดิบเบรนท์ และ 2) การตอบสนองต่อ ความแปรปรวน ของ ราคาทองคำ ในตลาดโลก ต่ออัตราแลกเปลี่ยน (บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) อัตรา ดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐอเมริกา อัตราเงินเฟ้อสหรัฐอเมริกา ทุนทองคำสำรองของโลก และราคา น้ำมันดิบเบรนท์ การดำเนินการวิจัย ใช้วิธีวิเคราะห์เวคเตอร์ ออโต้ รีเกรสชั่น และเครื่องมือเศรษฐมิติ ได้แก่ การศึกษาดุลยภาพระยะยาวตามวิธี Cointegration และความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลตามวิธี Causality และการวิเคราะห์ปฏิกิริยาตอบสนองต่อความแปรปรวน (Impulse Response Function) โดยใช้ข้อมูลรายเดือน ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2545 ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2555 รวม 126 เดือน ผลการศึกษาพบว่า 1) ตัวแปรที่นำมาศึกษาทั้งหมดมีความสัมพันธ์กันเชิงดุลยภาพส่วน ผลการศึกษาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อราคาทองคำ ในตลาดโลกคือ อัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐอเมริกา ในขณะที่ราคาน้ำมันดิบเบรนท์ และอัตราเงินเฟ้อ สหรัฐอเมริกา มีอิทธิพลต่อราคาทองคำ ในตลาดโลก ผ่านตัวแปรอัตราดอกเบี้ยสหรัฐอเมริกา 2) จากการทดสอบปฏิกิริยาตอบสนองต่อความแปรปรวน พบว่าปัจจัยที่ทำให้ราคาทองคำใน ตลาดโลกตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดคืออัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐอเมริกา รองลงมา ได้แก่ อัตราเงินเฟ้อสหรัฐอเมริกา ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ และทุนทองคำสำรองของโลกตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectทอง -- ราคาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อราคาทองคำในตลาดโลกth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting world Gold Priceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objctives of this study were; 1) to investigate the long-term equilibrium relationship and the casual relationship of factors affecting world gold price such as the exchange rate (THB:USD), US policy on interest rate, US inflation rate, capital of the world gold reserves, and crude oil prices in the world market, and 2) to study the response of the variations to the gold price in the world market on the exchange rate (THB:USD), US policy on interest rate, US inflation rate, capital of the world gold reserves, and the Brent crude oil price. This research employed the vector auto-regression analysis with econometric tools such as the study of long-term equilibrium by using Cointegration method and the casual relationship by using Causality test as well as the Impulse Response Function. The monthly data were collected from January 2002 to June 2012, totally 126 months. The results showed that 1) all the variables studies have the long-term equilibrium relationship, and the results from Causality test suggest that factor affecting world gold price was the US policy on interest rate; whereas, the US inflation rate and the Brent crude oil price could affect world gold price via the US policy on interest rate and 2) The results from the impulse response analysis showed that the most effective factor on world gold price changes was US policy on interest rate, and followed by the US inflation rate, Brent crude oil price, the exchange rate (THB:USD) and the capital of the world gold reserves respectivelyen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144716.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons