Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนา หาญพล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิลาสินี เทพวงศ์, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-05T04:01:15Z-
dc.date.available2022-08-05T04:01:15Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/253-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, 2547th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการใช้แหล่งการเรียนรู้ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 4 เพื่อการเรียนรายวิชาต่างๆ เพื่อการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและเพื่อประกอบการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มต่างๆ (2) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการใช้ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 4 (3) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัญหาการใช้แหล่งการเรียนรู้ของนักเรียนของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ซึ่งเป็นโรงเรียนรัฐบาลจํานวน 11 โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2547 จํานวน 697 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนเข้าใช้ห้องสมดโรงเรียนที่นักเรียนศึกษาอยู่มากที่สุดใน คาบอิสระ เข้าใช้ห้องแนะแนวสูงสุดในช่วงพักกลางวัน และใช้แหล่งการเรียนรู้ภายนอกโรงเรียนมากที่สุดในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ (2) นักเรียนมีการใช้แหล่งการเรียนรู้เพื่อการเรียนรายวิชาต่างๆ และใช้เพื่อประกอบการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มต่างๆ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง แต่ใช้เพื่อการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในระดับน้อย นักเรียนที่เรียนในระดับชั้นเรียนต่างกันมีการใช้แหล่งการเรียนรู้เพื่อการเรียนรายวิชาต่างๆและเพื่อประกอบการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มต่างๆ แตกตางกัน (3) นักเรียนมีการใช้ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดอยู่ในระดับปานกลางแต่ที่ใช้สูงสุด 3 อันดับแรก คือ หนังสือพิมพ์ หนังสือทั่วไปและหนังสือตํารา (4) นักเรียนประสบปัญหาการใช้ห้องสมดโรงเรียนอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาที่ประสบสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ไม่มีเวลาว่าง ห้องสมุดให้เวลาในการใช้อินเทอร์เน็ตน้อยเกินไป และหนังสือตําราที่ตรงกับรายวิชาต่าง ๆ มีให้บริการไม่เพียงพอ นักเรียนในระดับชั้นเรียนต่างกันและโรงเรียนขนาดต่างกันประสบปัญหาการใช้ห้องสมดโรงเรียนไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.139-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectแหล่งสารสนเทศ--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้แหล่งการเรียนรู้ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 4 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 1th_TH
dc.title.alternativeThe use of learning resources by the fourth level students of the schools under Chiang Rai Educational Service Area Office 1th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2004.139-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) study and compare the use of learning resources by the fourth-level secondary school students under the office of Chiang Rai educational area: region 1 for studying, researching, and supporting their studies on various subject groups; (2) study and compare the use of school library resources by the fourth-level secondary school students; and (3) study and compare the problems on the use of learning resources by the fourth-level secondary school students. 697 fourth-level secondary school students (Grades 4-6) in the first semester of 2004 academic year from 11 public schools under the Office of Chiang Rai Educational Area: Region 1 were given self-administered questionnaires. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way analysis of variance. The research findings were that the students mostly used school libraries at free time, the counseling rooms at lunch time and community learning resources at weekends. The students used school and community learning resources in order to support their studies at the moderate level, and used them for further study at the low level. The students in different class levels used school learning resources differently. They used library resources moderately. The first three types of information sources mostly used were newspapers, general books, and text-books respectively. The students reported problems in using school libraries at the moderate level. The first three problems were having no free time, insufficient time in using the Internet at the library, and insufficient number of textbooks in the subjects respectively. No significant difference was found among students in different class levels and different school sizesen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (8).pdfเอกสารฉบับเต็ม1.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons