Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2545
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิน พันธุพินิจ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ปัญญา หิรัญรัศมี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พจน์ บุญเรีอง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วันชัย อุสาหะ, 2498- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-12-29T03:51:07Z | - |
dc.date.available | 2022-12-29T03:51:07Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2545 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดการศัตรูพืชโดยวิจีผสมผสานของเกษตรกร 3) ระดับการยอมรับการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานของเกษตรกร และ4) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกร ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุโดยเฉลี่ย 45.9 ปี จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสบการณ์ปลูกกระเจี๊ยบเชียว 3.18 ปี สมาชิกในครอบครัวเฉลี่ย4.6คน แรงงานในครอบครัวเฉลี่ย 1.9 คน เป็นลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรถือครองที่ดินของตนเองและเช่าผู้อื่น พื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 27.7 ไร’ พื้นที่ปลูกกระเจี๊ยบเชียวเฉลี่ย 2.7 ไร่ใช้นาจากคลองชลประทานและมีการคมนาคมสะดวก ต้นทุนเฉลี่ยต่อไร่ต่อฤดู 6,981บาท กำไรเฉลี่ยต่อไร่ต่อฤดู 10,521 บาท เกษตรกรมีทัศนคติต่อการจัดการศัตรูพืชโดยวิจีผสมผสานระดับปานกลาง เช่นเดียวกับปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดการศัตรูพืชโดยวิจีผสมผสาน และการยอมรับการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สำหรับปัจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ และปัจจัยอื่นๆที่ มีความสัมพันธ์ต่อการยอมรับการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ได้แก่ ทัศนคติ ทุน รายได้ลักษณะเทคโนโลยี การส่งเสริมการเกษตร แหล่งนํ้า การคมนาคม เกษตรกรมีปัญหาในการชัดการศัตรูพืชโดยวิจีผสมผสานในระดับน้อย และเสนอแนะให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ กองทุนหมุนเวียน การชัดฝึกอบรม การส่งเสริมการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ให้ครอบคลุมพื้นที่การเกษตรมากขี้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กระเจี๊ยบเขียว | th_TH |
dc.subject | ศัตรูพืช--การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.subject | การส่งเสริมการเกษตร | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดการศัตรูพืช โดยวิธีผสมผสานของเกษตรกรผู้ปลูกกระเจี๊ยบเขียวในจังหวัดอ่างทอง | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting an adoption of the integrated pest management by okra growers in Ang Thong province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License