Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2598
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุฬารัตน์ ธรรมประทีป | th_TH |
dc.contributor.author | นฤพล ธุระทำ, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-04T07:58:13Z | - |
dc.date.available | 2023-01-04T07:58:13Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2598 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดิน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดิน ของนักเรียนชั้นประถศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E กับของนักเรียนที่ได้รับการสอน แบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดนวลจันทร์ กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 42 คน จำนวน 2 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จับฉลากห้องหนึ่งเป็นกลุ่มทดลอง และอีกห้องเป็นกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E เรื่อง ดิน แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เรื่อง ดิน และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ดิน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดิน ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ดังกล่าวก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดิน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E สูงกว่า ของนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E เรื่อง ดิน ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดนวลจันทร์ กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of inquiry-based leaning 7E in the topic of soil on science learning achievement of Prathom Suksa IV students at Wat Nuanchan School in Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare science learning achievements in the topic of Soil of Prathom Suksa IV students before and after learning under the 7E inquiry-based learning management in the topic of Soil; and (2) to compare science learning achievement in the topic of Soil of Prathom Suksa IV students who learned under the 7E inquiry-based learning management with that of students who were taught with the normal teaching method. The research sample consisted of 42 Prathom Suksa IV students in two intact classrooms of Wat Nuanchan School in Bangkok Metropolis during the second semester of the 2018 academic year, obtained by cluster sampling. Then one classroom was randomly assigned as the experimental group; the other classroom, the control group. The research instruments were the 7E inquiry learning management plans in the topic of Soil, the normal learning management plans in the topic of Soil, and a learning achievement test. The data was analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research results revealed that (1) the post-learning science learning achievement in the topic of Soil of Prathom Suksa IV students after learning under the 7E inquiry-based learning management was significantly higher than their pre-learning counterpart science learning achievement at the .05 level; and (2) science learning achievement in the topic of Soil of Prathom Suksa IV students who learned under the 7E inquiry-based learning management was significantly higher than the counterpart science learning achievement of the students who were taught with the normal teaching method at the .05 level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License