Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2599
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อภิรักษ์ อนะมาน | th_TH |
dc.contributor.author | เจนจิรา ไชยคงทอง, 2534- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-04T08:08:36Z | - |
dc.date.available | 2023-01-04T08:08:36Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2599 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน นิทานเพลงชาน้อง จังหวัดสุราษฎร์ธานี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 2) เพื่อตรวจสอบคุณภาพของหนังสือส่งเสริมการอ่าน ที่สร้างขึ้น ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาไทยและด้านการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน จำนวน 3 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ 1) หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง นิทานเพลงชาน้อง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) แบบประเมินคุณภาพหนังสือส่งเสริมการอ่านสาหรับผู้เชี่ยวชาญ และ 3) แบบประเมินคุณภาพหนังสือส่งเสริมการอ่านสาหรับนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา ปรากฏดังนี้ 1) หนังสือส่งเสริมการอ่านมีเนื้อหาประกอบด้วย นิทานเพลงชาน้อง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 10 เรื่อง แต่ละเรื่องมีคำอธิบายศัพท์ และกิจกรรมท้ายเรื่องได้แก่ กิจกรรมชวนน้องร้องตาม และคำถามชวนคิด และ 2) คุณภาพของหนังสือส่งเสริมการอ่าน มีดังนี้ (1) ผู้เขียวชาญประเมินคุณภาพของหนังสือทั้ง 6 ด้าน คือ ด้านเนื้อหา ด้านวิธีการนำเสนอด้านการใข้ภาษา ด้านการจัดรูปเล่ม ด้านการจัดหน้าและภาพประกอบ และด้านประโยชน์ที่ใด้รับมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (2) นักเรียนมีผลการประเมิน 6 ด้าน มีความความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกร | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | หนังสือ | th_TH |
dc.subject | การส่งเสริมการอ่าน | th_TH |
dc.subject | หนังสือและการอ่าน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | การสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน นิทานเพลงชาน้อง จังหวัดสุราษฎร์ธานี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 | th_TH |
dc.title.alternative | Construction of reading enhancement book entitled Plang Cha Nong Folktales of Surat Thani Province for Grade 5 students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to 1) construct a reading enhancement book entitled Plang Cha Nong Folktales of Surat Thani Province for Grade 5 students; and 2) verify quality of the reading enhancement book that was constructed. The informants consisted of 3 experts on Thai language and on construction of reading enhancements books, and a group of 10 grade 5 students. The research instruments employed in this study comprised 1) a reading enhancement book entitled Plang Cha Nong Folktales of Surat Thani Province; 2) a reading enhancement book quality verification form for the experts and 3) a reading enhancement book quality verification form for the students. Statistics used for data analysis were percentage, mean, and standard deviation. Results of the study were as follows: 1) contents of the constructed reading enhancement book comprised ten stories of Plang Cha Nong folktales of Surat Thani province, each of which was completed with glossary, and end-of-story activities for example, sing together and thinking questions; and 2) results of quality verification of the constructed reading enhancement book were as follows; (1) Experts verified the quality of the book in 6 aspects namely contents, story presentation, language use, the book’s side, book’s layout and illustrations and benefits obtained as appropriate at the highest level; and (2) Students verified the book in 6 aspects as appropriate at the highest level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 28.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License