Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2603
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐิติกรณ์ ยาวิไชย จารึกศิลป์th_TH
dc.contributor.authorฉัตรพงศ์ ชูแสงนิล, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-04T08:25:11Z-
dc.date.available2023-01-04T08:25:11Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2603en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 2) ศึกษาระดับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา ผลการวิจัยปรากฎดังนี้ 1) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการเรียนการสอน ด้านการจัดการบริหารงนสถานศึกษา ด้านการมีวิสัยทัศน์เชิงเทคโนโลยี และด้านสังคม กฎหมาย และจริยธรรม ด้านการวัดผลประเมินผล 2) การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านรูปแบบทางความคิด ด้านความรอบรู้ของบุคคล ด้านการเรียนรู้กันเป็นทีม ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วม และด้านการคิดอย่างเป็นระบบ และ 3) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับความสัมพันธ์กันสูงมาก มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .929 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2th_TH
dc.title.alternativeRelationship between technology leadership of school administrators and being a learning organization of schools under Narathiwat Primary Educational Service Area Office 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the level of technology leadership of school administrators under Narathiwat Primary Educational Service Area Office 2; 2) to study the level of being a learning organization of schools; and 3) to study the relationship between technology leadership of school administrators and being a learning organization of schools. The research sample consisted of 277 teachers under Narathiwat Primary Educational Service Area Office 2, obtained by stratified random sampling based on school size. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The employed research instrument was a rating scale questionnaire on technology leadership of school administrators and being a learning organization of schools, with reliability coefficients of .81 and .80 respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient. The research findings showed that: 1) both the overall and specific aspects of technology leadership of school administrators under Narathiwat Primary Educational Service Area Office 2 were rated at the high level and the specific aspects could be ranked in order from top to bottom as follows: learning and teaching, school management, technology vision statement, society, law and morality, and evaluation; 2) both the overall and specific aspects of being a learning organization of schools were rated at the high level and the specific aspects could be ranked in order from top to bottom as follows: thinking models, personal mastery, team learning, shared vision and systems thinking; and 3) technology leadership of school administrators and being a learning organization of schools correlated positively at the very high level with the correlation coefficient of .929, which was significant at the .01 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons