Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2628
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธีรยุทธ ชุมนวล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-06T04:46:24Z-
dc.date.available2023-01-06T04:46:24Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2628-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทั่วไปทางสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกสหกรณ์ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจขายน้้ายางพาราสดของสมาชิกสหกรณ์ และ (3) ปัญหา และข้อเสนอแนะในการ ขายน้้ายางพาราสดของสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านควนเนียง จำกัด จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประชากรที่ศึกษาเป็นสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านควนเนียง จำกัด ที่ขายน้้ายางพาราสดใน สหกรณ์ โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 117 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบไคสแควร์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า (1) สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ช่วงอายุ 51 ปีขึ้นไป การศึกษาระดับประถม ศึกษา จำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ช่วยทำการเกษตร 1-2 คน จำนวนพื้นที่ปลูกยางพารา 11-20 ไร่ ระยะทาง การขนส่งน้้ายางพาราสด 1-5 กิโลเมตร รายได้ของครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 30,000 บาทขึ้นไป มีระยะเวลา การเป็นสมาชิกสหกรณ์ 11-15 ปีและตลาดที่สมาชิกขายน้้ายางพาราสดเป็นประจำคือสหกรณ์ (2) ปัจจัยที่มีผล ต่อการตัดสินใจขายน้้ายางพาราสดของสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านควนเนียง จำกัด ได้แก่ ปัจจัยด้าน ผลิตภัณฑ์ (น้้ายางพาราสด) ด้านราคา ด้านช่องทางการจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด โดยรวมอยู่ในระดับ มากทุกปัจจัย โดยปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจขายน้้ายางพาราสดของสมาชิกในระดับที่สูงเป็นลำดับแรก คือ ปัจจัยด้านราคา รองลงมา คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ (น้้ายางพาราสด) ด้านช่องทางการจำหน่าย และด้านการ ส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษา พบว่า ระดับการศึกษา ระยะทางการขนส่งน้้า ยางพาราสด และระยะเวลาการเป็นสมาชิกสหกรณ์ มีความสัมพันธ์กับปัจจัยส่วนประสมการตลาด และระดับ การศึกษามีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจขายน้้ายางพาราสดให้สหกรณ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และปัจจัยส่วน ประสมการตลาดไม่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจขายน้้ายางพาราสดให้สหกรณ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (3) ปัญหาและอุปสรรคในการขายน้้ายางพาราสดได้แก่ ได้รับเงินค่าน้้ายางพาราสดช้าเกินไป การให้บริการล่าช้า/ เจ้าหน้าที่ให้บริการน้อย และข้อเสนอแนะในการขายน้้ายางพาราสดของสมาชิก ได้แก่ การกำหนดระยะเวลาการ จ่ายเงินค่าน้้ายางพาราสดให้เร็วขึ้นหรือการจ่ายเงินรับซื้อเป็นเงินสดวันต่อวัน การกำหนดราคารับซื้อประจำวันที่ ชัดเจนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านควนเนียง--สมาชิก--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.subjectน้ำยาง--การขายth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจขายน้ำยางพาราสดของสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านควนเนียง จำกัด จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the decision to sell field latex of members of Khuanniang Rubber Plantation Fund Cooperative Ltd., Suratthani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) the socio-economic conditions of the members of Khuanniang Rubber Plantation Fund Cooperative, Limited; 2) factors that affected their decision to sell field latex; and 3) problems and recommendations concerning the members’ sale of field latex. The sample population consisted of 117 members of Khuanniang Rubber Plantation Fund Cooperative, Ltd., who sold field latex to the cooperative. Data were collected using a questionnaire and analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, chi square test and content analysis. The results showed that (1) Most of the members surveyed were male, age 51 or over, and educated to primary school level. They had 1-2 household members who helped with the plantation and they grew rubber on 11-20 rai of land, located on average 1-5 kilometers from the point for selling field latex. Their average household income was more than 30,000 baht a month. Most had been members of the cooperative for 11-15 years and sold most of their latex to the cooperative. (2) Overall, the members perceived that the factors of product (latex), price, place (sales channel) and promotion had a high level of influence on their decision to sell field latex through the cooperative. The factor that was regarded as most important was price, followed by product, place, and promotion, in that order. There was a statistically significant relationship between the marketing mix factors and the socio-economic factors of distance from farm to place of sale and number of years of membership in the cooperative. There was also a statistically significant relationship between educational level and decision to sell field latex to the cooperative. However, there was no statistically significant relationship between marketing mix factors and decision to sell field latex to the cooperative. (3) The problems with field latex sales were lateness in payments and slowness in service/shortage of personnel. Recommendations for improvements were to shorten the payment period or make payments on a daily basis and to clearly specify the buying price for each dayen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140798.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons