Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2658
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโอภาวดี เข็มทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนาวาวี บาราเฮง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-10T04:05:47Z-
dc.date.available2023-01-10T04:05:47Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2658-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาบริบทและสภาพทั่วไปของกสุ่มสมาชิก สหกรณ์บีนา จำกัด ในปัจจุบัน (2) ศึกษาแนวทางพัฒนากลุ่มสมาชิกสหกรณ์บีนา จำกัด ตามหลักศาสนา อิสลามการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีดำเนินการศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการ จัดการระบบกลุ่ม สัมภาษณ์เจาะลึกประธานกลุ่มหมวกกะปิเยาะห์ กสุ่มเกษตร กลุ่มขนมปังเบเกอรรี่และขนม พื้นเมือง บุคคลที่สองนักวิชาการ บุคคลที่สามผู้นำศาสนาอิสลามโต๊ะอีหม่ำ และจัดเวทีระดมสมองร่วมกัน กับห้วหน้ากสุ่มทั้งสามกลุ่ม สมาชิกกลุ่มทั้งสามกลุ่มๆ ละ 5 คน และผู้นำศาสนาอิสลามโต๊ะอีหม่ำที่มีประสบ การณ์เกี่ยวกับกลุ่ม 1 คน เมื่อได้ข้อมูลแล้วใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการจำแนก และจัดระบบข้อมูล เปรียบเทียบเหตุการณ์ สังเกต และวิเคราะห์สาเหตุและผล ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาพทั่วไปของกลุ่มสมาชิกสหกรณ์บีนาจำกัด ทั้งสามกลุ่มในเวลา ปัจจุบันเริ่มจะมีการพึ่งพา มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความร่วมมือ มีการสื่อสาร มีส่วนรวม และเริ่มมี ความสามัคคี (2) แนวทางพัฒนากลุ่มสมาชิกสหกรณ์บีนา จำกัด ตามหลักศาสนาอิสลาม นั้นคือ การหา ประธานกลุ่มที่มีความรับผิดชอบ ภาษาอาหรับเรียกว่า ภัล-อะมานะฮ์ ความเป็นธรรมภาษาอาหรับเรียกว่า อัดลุ และมีความอดทนภาษาอาหรับเรียกว่าซอนรุ และมีความบริสุทธิ์ใช้ภาษาอาหรับเรียกว่า อิคลาส หลังจากได้ผู้นำที่เหมาะสมแล้ว เริ่มต้นด้วยการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการศาสนาอิสลามเกี่ยวกับ ระบบกลุ่ม ร่วมกำหนดปทัสถานของกลุ่ม หลังจากนั้นผู้นำใช้หลักเข้าถึงสมาชิกด้วยการมีกิจกรรมต่างๆ คือ ละหมาดร่วมกัน เลี้ยงอาหารร่วมกัน ประชุมกลุ่มร่วมกัน ช่วยทดและหาแหล่งทุน พัฒนาผลิตภัณห์หา ช่องทางตลาด เพื่อให้เกิดการพื่งพา มีความช่วยเหลึอ มีส่วนรวม มีความร่วมมือ และมีความสามัคคี เมื่อกลุ่ม มีความขัดแย้งใช้หลักประชุมปรึกษาหารึอภาษาอาหรับเรียกว่า ซูรอ เมื่อมีข้อตกลงระหว่างกันภายในกลุ่มก็ มอบหมายด้วยหัวใจที่มีความเชื่อมั่น และศรัทธาอย่างแท้จริงต่อพลังอำนาจ ความปรีชาญาณ และความ ยุติธรรมของพระองคอัลลอฮ์ การมอบหมายงานจะเกิดขึ้นหลังจากวางแผนภาษาอาหรับเรียกว่า ตะวักกูล หลังจากนั้นการงานทั้งหมดต้องมีการประเมินผลภาษาอาหรับเรียกว่าบุหาสาบะฮ์ วิธีการทั้งหมดนั้นทำให้ กลุ่มระบบอิสลามมีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์--ไทย--ปัตตานีth_TH
dc.subjectสมาชิกสหกรณ์บีนา จำกัด จังหวัดปัตตานีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleแนวทางพัฒนากลุ่มสมาชิกสหกรณ์บีนา จำกัด ตามหลักศาสนาอิสลาม จังหวัดปัตตานีth_TH
dc.title.alternativeGroup development guideline for Bhena Cooperative Ltd.'s member upon Islamic Rules Pattani provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124280.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons