Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2700
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา ตั้งทางธรรมth_TH
dc.contributor.authorสุจิตรา รักร่วม, 2507-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-16T02:59:04Z-
dc.date.available2023-01-16T02:59:04Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2700en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาโครงสร้างการจัดเก็บภาษีของสำนักงาน สรรพากรพื้นที่จันทบุรี 2) ศึกษาประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีประเภทต่างๆ ของสำนักงานสรรพากรพื้นที่จันทบุรีวิธีการศึกษา เพื่อเปรียบเทียบกับประมาณการรายได้ภาษีสรรพากรตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 - 2551 โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ จากรายงานสถิติผลการจัดเก็บภาษีของสำนักงานสรรพากร พื้นที่จันทบุรี และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของประมาณการรายได้ภาษีกับผลการจัดเก็บภาษีจากค่าความ ยืดหยุ่น ผลการศึกษาพบว่า 1) โครงสร้างการจัดเก็บภาษีของสำนักงานสรรพากรพื้นที่จันทบุรี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2546-2551 ประเภทภาษีที่มีสัดส่วนสำคัญสูงสุด ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามลำดับ โดยมีผลการจัดเก็บภาษีเฉลี่ยร้อยละ 38.63,31.94 และ 20.19 ของยอดรวมภาษีทั้งหมด 2) ผลการศึกษาประสิทธิภาพการจัดเก็บเมื่อเทียบกับประมาณการรายได้ภาษี พบว่าอยู่ในระดับสูงกว่าปกติ มีค่าความพยายามในการจัดเก็บ ภาษีเฉลี่ยสูงกว่า 1 ทุกประเภท แสดงให้เห็นว่าประสิทธิภาพการจัดเก็บอยู่ในระดับที่ดี การศึกษา อัตราการเปลี่ยนแปลงผลการจัดเก็บภาษีของสำนักงานสรรพากรพื้นที่จันทบุรีเปรียบเทียบกับ กรมสรรพากรและผลิตกัณฑ์มวลรวมจังหวัด พบว่า มีอัตราการเปลี่ยนแปลงใกล้เคียงกัน โดยที่อัตราการเปลี่ยนแปลงของกรมสรรพากรมีค่าเท่ากับ 13.42 และของสำนักงานสรรพากรพื้นที่จันทบุรี เท่ากับร้อยละ 11.52 ส่วนอัตราการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเปรียบเทียบกับผลการจัดเก็บภาษี มีค่าเท่ากับร้อยละ 12.45 และผลการจัดเก็บของสำนักงานสรรพากรพื้นที่ จันทบุรี เท่ากับร้อยละ 12.46 ผลการศึกษาความสัมพันธ์ของประมาณการรายได้กับผลการจัดเก็บภาษีจากค่าความยืดหยุ่น พบว่ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.989 แสดงว่าอัตราส่วนร้อยละของการเปลี่ยนแปลงผลการจัดเก็บน้อยกว่าอัตราส่วนร้อยละของการเปลี่ยนแปลงประมาณการรายได้ภาษีและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น ผลการศึกษานี้สรุปได้ว่าประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี อยู่ในระดับสูงกว่าปกติและประมาณการกับผลการจัดเก็บภาษีมีความสัมพันธ์กันอย่างสมบูรณ์และ การเปลี่ยนแปลงของประมาณการจะไม่ส่งผลกระทบต่อผลการจัดเก็บภาษีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานสรรพากรพื้นที่จันทบุรีth_TH
dc.subjectการจัดเก็บภาษี--ไทย--จันทบุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการศึกษาโครงสร้างภาษีและประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีของสำนักงานสรรพากรพื้นที่จันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeStudy of tax structure and tax collection efficiency of Chanthaburi Area Revenue Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
129503.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons