Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2708
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา ตั้งทางธรรมth_TH
dc.contributor.authorสุธาลักษณ์ เขตต์บรรพต, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-16T06:38:44Z-
dc.date.available2023-01-16T06:38:44Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2708en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษามาตรการและนโยบายภาษีสรรพากรที่มีผลต่อการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสำนักงานสรรพากรภาค 7 และ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสำนักงานสรรพากรภาค 7 การศึกษานี้ใช้ข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องแบบอนุกรมเวลารายไตรมาส ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2544-2553 และข้อมูลรายได้ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสำนักงานสรรพากรภาค 7 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาและวิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยใช้สมการถดถอยและประมาณค่าแบบกำลังสองน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า 1) การใช้มาตรการและนโยบายภาษีสรรพากรในช่วงระยะเวลาที่ศึกษามีผลต่อการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในทิศทางตรงกันข้าม การบริหารการจัดเก็บเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ดีในการจัดเก็บภาษีอากรทำให้ประสบความสำเร็จในการจัดเก็บ และ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ จำนวนผู้มีงานทำ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และมาตรการภาษี โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.998, 0.447 และ –0.138 ตามลำดับ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจัดเก็บภาษีth_TH
dc.subjectภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสำนักงานสรรพากรภาค 7th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting personal income tax collection of the regional Revenue Office 7en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to 1) study measures and policies determining personal income tax collection, and 2) examine factors affecting personal income tax collection of the Regional Revenue Office 7 The study used related secondary quarterly time series data fiscal year 2001-2010 and personal income tax revenue of the Regional Revenue Office 7. The data were analyzed by both descriptive and quantitative methods. For quantitative analysis, regression model through the Ordinary Lease Squares method was applied. The results found that: 1) the measures and policies employed during the study period affected personal income tax revenue in the opposite direction. The Regional Revenue Office 7 managed tax collection according to a good management criteria to keep a good basis for taxation resulting in the success of tax collection; and 2) factors determining personal income tax revenue comprised number of employed persons, Gross Domestic Product, and tax measures. Their coefficients were 0.998, 0.447, and -0.138 respectively at the 0.01 significance levelen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
129100.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons