Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2713
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประยูร พะมะ-
dc.date.accessioned2023-01-16T08:08:10Z-
dc.date.available2023-01-16T08:08:10Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2713-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของสมาชิกผู้ปลูกกาแฟของสหกรณ์ชาวสวน กาแฟละอุ่น จํากัด 2) ศึกษาปัจจยในการตัดสินใจขายเมล็ดกาแฟของสมาชิกสหกรณ์ชาวสวนกาแฟละอุ่น จํากัด และ 3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการตัดสินใจขายเมล็ดกาแฟของสมาชิกสหกรณ์ชาวสวนกาแฟละอุ่น จํากัด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ สมาชิกสหกรณ์ชาวสวนกาแฟละอุ่น จํากัด ทั้งหมดที่มีพื้นที่ปลูกกาแฟ จํานวน 124 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษา พบว่า 1) สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 46 ปี ขึ้นไป จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา มีสมาชิกในครอบครัวที่ช่วยกันทำการเกษตร 2-3 คน มีรายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อปี 120,001- 180,000 บาท มีระยะเวลาที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ 12 ปี ขึ้นไป มีพื้นที่ปลูกกาแฟตั้งแต่ 10-30 ไร่ มีผลผลิตเมล็ดกาแฟต่อปีตํ่ากว่า 1,600 กิโลกรัม และตลาดที่สมาชิกขายเมล็ดกาแฟเป็นประจำเป็นพ่อค้าท้องถิ่น 2) ปัจจัยในการ ตัดสินใจขายเมล็ดกาแฟของสมาชิกสหกรณ์ชาวสวนกาแฟละอุ่น จํากัด ได้แก่ ปัจจยดัานผลิตภัณฑ์ (เมล็ดกาแฟ) ด้านราคา ด้านช่องทางการจำหน่ายและด้านการส่งเสริมการตลาด โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.49) ทุกปัจจัย โดยปัจจัยในการตัดสินใจขายเมล็ดกาแฟของสมาชิกในลำดับแรกคือ ปัจจยดัานราคา (ค่าเฉลี่ย 4.58) ปัจจัยย่อยในระดับมากที่สุด คือสหกรณ์จ่ายเงินที่ขายเมล็ดกาแฟให้สมาชิกเป็นเงินสด ปัจจัยดัานการส่งเสริม การตลาด (ค่าเฉลี่ย 4.56) ปัจจัยย่อยในระดับมากที่สุด สหกรณ์มีเงินเฉลี่ยคืนแก่สมาชิกตามส่วนยอดขาย ปัจจัย ด้านช่องทางการจำหน่าย (ค่าเฉลี่ย 4.44) ปัจจัยย่อยในระดับมากที่สุด ระบบการชั่งได้มาตรฐานเที่ยงตรง และ ปัจจยดัานผลิตภัณฑ์ (เมล็ดกาแฟ) (ค่าเฉลี่ย 4.37) ปัจจัยย่อยในระดับมากที่สุด สหกรณ์มีเครื่องตรวจวัดคุณภาพ เมล็ดกาแฟชัดเจน การเปรียบเทียบปัจจัยในการตัดสินใจขายเมล็ดกาแฟของสมาชิกสหกรณ์ชาวสวนกาแฟละอุ่น จํากัด พบว่าปัจจัยดัานเพศ ระดับการศึกษา และพื้นที่ปลูกกาแฟของสมาชิกที่ต่างกัน มีการตัดสินใจขายเมล็ด กาแฟให้กับสหกรณ์ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้ง 4 ด้าน ส่วนปัจจัยดัานอื่นๆ ไม่มีความ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) ปัญหาการตัดสินใจขายเมล็ดกาแฟของสมาชิกได้แก่ การบริการรับซื้อที่ไม่ ต่อเนื่อง และเวลาเปิด ปิ ด สถานที่รับซื้อไม่เหมาะสม ส่วนข้อเสนอแนะในการตัดสินใจขายเมล็ดกาแฟของ สมาชิกคือการจัดหาแหล่งเงินกู้ให้สมาชิกเพื่อจ่ายค่าแรงงานช่วงเก็บเกี่ยวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ชาวสวนกาแฟละอุ่นth_TH
dc.subjectกาแฟ--เมล็ด--การขายth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยในการตัดสินใจขายเมล็ดกาแฟของสมาชิกสหกรณ์ชาวสวนกาแฟละอุ่น จำกัด จังหวัดระนองth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the decision to sell coffee beans of members of La-un Coffee Planters Cooperative Ltd., Ranong Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์.th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were 1) to study fundamental state of members of La-un Coffee Planters Cooperative Ltd., in Ranong Province; 2) to study factors affecting their decision to sell their coffee beans; and 3) to study their problems and suggestions on their decision to sell their coffee beans. The population in this study was all of the members of La-un Coffee Planters Cooperative Ltd., in Ranong Province who had the area for planting coffee, 124 persons altogether. The instrument used to collect the data was a questionnaire form. The statistical methodology used to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation. The findings of this study were as follows: 1) most of the studied members were male. They were 46 years old or more. They were educated at primary level. The quantity of members of their family who worked in agricultural sections was 2-3 persons. The average of their family income was 120,001-180,000 Baht/year. The duration of their being a member of the cooperative was 12 years or more. The size of their area used for planting coffee was 10- 30 Rai. Their coffee bean productivity was lower than 1,600 kg/year. They usually sold their coffee beans to local merchants. 2) Considering factors affecting their decision to sell their coffee beans, it was found that every factor was generally at the most level. The first factor which affected their decision to sell their coffee beans was the selling price of their coffee beans, the factor at the most level was the method of payment in case that the cooperative paid them for their products in cash. The second factor was the marketing promotion; the factor at the most level was the dividends which were paid according to the quantity of their shares. The third factor was the distribution channels; the factor at the most level was the weighing measurement system which was standardized. The fourth factor was the products themselves (coffee beans), the factor at the most level was the quality control by having a machine to inspect the quality of their products. To study the comparison between the factors affecting their decision to sell their coffee beans and their fundamental state, it was found that the members whose sex, education level, and the size of their area used for planting coffee were different; the factors affecting their decision to sell their coffee beans would be different too. And 3) considering their problems and suggestions on their decision to sell their coffee beans, it was found that the members had problems that the local merchants did not provide them buying services continuously, and they suggested that they should have been supplied with loan sources in order to have money to pay their employed workers during harvesting perioden_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128365.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons