Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2759
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปริชาต ดิษฐกิจth_TH
dc.contributor.authorสุมณฑา ม่วงศรี, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-19T05:17:32Z-
dc.date.available2023-01-19T05:17:32Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2759en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้สารลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลงที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดหอมที่ปลูกในดินเหนียว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Designs, CRD) หน่วยการทดลอง ได้แก่ ผักกาดหอมที่ปลูกในแปลงขนาดกวา้ง 1 x ยาว 2 เมตร 3 ซ้ำ 4 ทรีตเมนต์ ดังนี้ ทรีตเมนต์ที่ 1 ไม่ใช้สารลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลง ทรีตเมนต์ที่ 2 ใช้สารลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลง อัตรา 2.5 ตันต่อไร่ ทรีตเมนต์ที่่ี 3 ใช้สารลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลง อัตรา 5.0 ตันต่อไร่ และทรีตเมนต์ที่ 4 ใช้สารลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลง อัตรา 7.5 ตันต่อไร่ วิเคราะห์ความแปรปรวน และเปรียบเทียบความแตกต่างทางสถิติด้ว ยวิธี Duncan’s new multiple range test (DMRT) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ทำการทดลองในแปลงเกษตรกรที่มีการปลูกผักกาดหอม ตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี เดือนเมษายน – สิงหาคม พ.ศ. 2559 ผลการทดลองพบว่า การเจริญเติบโตของผักกาดหอม อายุ 21 วัน ที่ได้รับสารลีโอนาไดต์ดัดแปลง อัตรา 5.0 ตันต่อไร่ มีความสูงต้น ความกว้างใบ และความกว้างทรงพุ่มมากที่สุด (p < 0.01) เท่ากับ 6.07,2.68 และ 4.32 เซนติเมตรตามลำดับ ผักกาดหอมอายุ 34 วัน ที่ได้รับสารลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลง อัตรา 7.5 ตันต่อไร่ มีความกว้างของลำต้นมากที่สุด (p < 0.05) เท่ากับ 8.11 มิลลิเมตร และพบว่า ผักกาดหอมที่ได้รับสารลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลง อัตรา 5.0 ตันต่อไร่ มีจำนวนใบเฉลี่ย ความกว้างใบ และน้ำ หนักแห้งต้นมากที่สุด (p < 0.05) เท่ากับ 6.53 ใบ 8.16 เซนติเมตร และ 0.096 มิลลิกรัม ตามลำดับ ผักกาดหอมอายุ 50 วัน ที่ได้รับสารโอนาร์ไดต์ดัดแปลงในอัตรา 5.0 ตันต่อไร่ มีจา นวนใบเฉลี่ยมากที่สุด (P <0.01) เท่ากับ 14.60 ใบ และนำหนักสดต้นมากที่สุด (p < 0.05) เท่ากับ 94.50 กรัม ผักกาดหอมอายุ 58 วัน ที่ได้รับสารลีโอนาร์ไดต์ดัด แปลง อัตรา 5.0 ตันต่อไร่ มีน้ำหนักสด ต้นและน้ำหนักแห้งต้นมากที่สุด (P < 0.05) เท่ากับ 107.53 กรัม และ 8.64 กรัม ตามลำดับรวมถึงมีน้ำหนัก ผลผลิตรวมมากที่สุด (P<0.01) เท่ากับ 13.93 กิโลกรัมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผักกาดหอม--ดินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการการเกษตรth_TH
dc.titleผลของลีโอนาร์ไดต์ดัดแปลงต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดหอมที่ปลูกในดินเหนียวth_TH
dc.title.alternativeEffect of modified Leonardite on growth and Yield of lettuce (Lactuca sativa L.) grown in clay soilen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effect of modified leonardite on the growth and yield of lettuce grown in clay soil. The experiment was conducted in completely randomized design (CRD). The experimental units were lettuce samples cultivated in a 1 x 2 (width x length) meter plot. There were 3 replicates. In this study, four treatments were used as follows: Treatment 1, the absence of modified leonardite; Treatment 2, the use of modified leonardite at the ratio of 2.5 tons per rai (1 rai=1,600 m2); Treatment 3, the use of modified leonardite at the ratio of 5.0 tons per rai; and Treatment 4, the use of modified leonardite at the ratio of 7.5 tons per rai. Obtained data were analyzed using ANOVA and were compared using Duncan’s new multiple range test (DMRT) at the confidence level of 95%. The experiment was conducted on cultivated plots of lettuce owned by farmers located in Banduea, Muang District, Pathum Thani from April to August 2016. The results showed that at 21 days, the lettuce grown in soil with modified leonardite at the ratio of 5.0 tons per rai had the greatest height, leaf width and canopy width (p ≤ 0.01) with the values of 6.07, 2.68, and 4.32 cm, respectively. At 34 days lettuce samples grown in soil with modified leonardite at the ratio of 7.5 tons per rai had the greatest stem width (p ≤ 0.05) at 8.11 mm while lettuce that was grown in soil with modified leonardite at the ratio of 5.0 tons per rai had the highest average numbers of leaves, leaf width, and dry weight (p ≤ 0.05) with the values of 6.53 leaves, 8.16 cm, and 0.096 mg, respectively. At 50 days lettuce grown in soil with modified leonardite at the ratio of 5.0 tons per rai had the highest average numbers of leaves (p ≤ 0.01) at 14.60 leaves, and had the highest fresh weight (p ≤ 0.05) at 94.50 g. Moreover, at 58 days lettuce grown in soil with modified leonardite at the ratio of 5.0 tons per rai had the highest fresh and dry weight (p ≤ 0.05) at 107.53 and 8.64 g, respectively, as well as the highest total yield weight (p ≤ 0.01) of 13.93 kg.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_160438.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons