กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2785
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมสิริ คิดซื่อ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-23T08:47:27Z-
dc.date.available2023-01-23T08:47:27Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2785-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการออมของเจ้าหน้าที่สานักงานสรรพากรพื้นที่ปราจีนบุรี และ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกรูปแบบการออมของเจ้าหน้าที่สานักงานสรรพากรพื้นที่ปราจีนบุรี การดาเนินการวิจัย โดยใช้แบบสอบถามจากประชากรทั้งหมดของเจ้าหน้าที่สรรพากรพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี จานวน 105 ราย มาวิเคราะห์ใน 2 ลักษณะ คือการวิเคราะห์เชิงพรรณนา เพื่อบรรยายลักษณะการออมหรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ได้จากกลุ่มประชากร เช่น สัดส่วนร้อยละ ค่าเฉลี่ย เป็นต้น และการวิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยใช้การถดถอยเชิงเส้นแบบหุ (Multiple Linear Regression) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกรูปแบบการออมของเจ้าหน้าที่สานักงานสรรพากรพื้นที่ปราจีนบุรี ผลการศึกษาพบว่า 1) พฤติกรรมการออมของเจ้าหน้าที่สานักงานสรรพากรพื้นที่ปราจีนบุรีพบว่า มีการออมระหว่างร้อยละ 0-5 ของรายได้ในแต่ละเดือน โดยมีระยะการออมอยู่ระหว่าง 1-5 ปี และเลือกรูปแบบการออมคือ ฝากเงินกับสหกรณ์ออมทรัพย์กรมสรรพากรเป็นส่วนใหญ่ เหตุผลเนื่องมาจากความสะดวกสบายเพราะตัดจากบัญชีเงินเดือน รวมทั้งมีความมั่นคง และ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกรูปแบบการออมพบว่า ปัจจัยด้านสภาพคล่องมีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยด้านเป้าหมายการออม ปัจจัยทางผลตอบแทน ปัจจัยด้านการโฆษณาและสิ่งจูงใจ และปัจจัยทางความเสี่ยง มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมากตามลาดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานสรรพากรพื้นที่ปราจีนบุรีth_TH
dc.subjectการประหยัดและการออม -- ไทย -- ปราจีนบุรีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกรูปแบบการออมของเจ้าหน้าที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่ปราจีนบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting decision of saving pattern of Prachin Buri area Revenue Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are as follow. 1) to study the saving behavior of Prachin Buri Area Revenue Office and 2) to determine factors influencing on decision of saving pattern of Prachin Buri Area Revenue Office. Data were collected by questionnaire from 105 officers of Prachin Buri Area Revenue Office. The data were analyzed in two aspects ,which are descriptive analysis for describe the relationship between variables from population such as percentage mean etc and quantitative analysis ,which is Multiple Linear Regression, for determine factors influencing on decision of Prachin Buri Area Revenue Office. The results show that 1) saving rate of Prachin Buri Area Revenue Office are between 0 -5 percent of their income in each month. Term savings are between 1-5 years and saving pattern is deposit money in revenue office’s cooperative because convenience and they can take money from payroll and there is stability 2) factors affecting decision of saving were the aspect of liquidity factor which had total average at high level and the next factors are the aspect of saving goal, the aspect of return, the aspect of advertisement and temptation and the aspect of risk which had total average at high level, respectivelyen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Econ-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
135837.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.62 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons