Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรณิชา สุภาวงค์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-27T08:25:58Z-
dc.date.available2023-01-27T08:25:58Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2889-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทัjวไปของสมาชิกที่ใช้สินเชื่อกyบสหกรณ์ การเกษตรบางกะปิ จำกัด 2) ระดับความสำคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการค้างชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ การเกษตรบางกะปิ จำกัด 3) ปัจจัยที่มีผลต่อการค้างชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางกะปิ จำกัด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางกะปิ จำกัด ที่มีหนี้เงินกู้ ค้างชำระกับสหกรณ์จำนวน 465 ราย โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 215 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การศึกษาได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 41-50 ปี ระยะเวลาการเป็น สมาชิก 1–5 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา สถานภาพสมรส จำนวนสมาชิกในครัวเรือน 3-4 คน มีบุตรที่ต้องส่งเรียน 1-2 คน การถือครองที่ดินเป็นของตนเอง/คู่สมรส เนื้อที่ทำการเกษตร 1–5 ไร่ มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน และวัตถุประสงค์การใช้เงินกู้เพื่อการเกษตร รายได้จากภาคการเกษตรและรายได้จาก นอกภาคการเกษตรต่ำกว่า 60,000 บาท/ปี รายจ่ายจากภาคการเกษตรต่ำกว่า 40,000 บาท/ปี รายจ่ายจาก นอกภาคการเกษตร 40,000–80,000 บาท/ปี จ านวนหนี้ค้างชำระกับสหกรณ์ 30,000–60,000 บาท จำนวน หนี้สินกับสถาบันการเงินอื่น 60,001–90,000 บาท และมีการค้างชำระหนี้เงินต้น 2) ระดับความสำคัญของ ปัจจัยที่มีผลต่อการค้างชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์ พบว่า ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านการผลิต ปัจจัยด้านการตลาด มีผลต่อการค้างชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยด้าน นโยบายของรัฐมีผลต่อการค้างชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยที่มีผลต่อ การค้างชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ลักษณะการถือครองที่ดิน จำนวนเนื้อ ที่ทำการเกษตรและวัตถุประสงค์การใช้เงินกู้ ปัจจัยด้านรายได้ -รายจ่าย ได้แก่ รายได้จากภาคการเกษตร ปัจจัยด้านการผลิต ได้แก่ ขาดแหล่งน้ำ ปัจจัยด้านนโยบายของรัฐ ได้แก่ นโยบายโครงการรับจำนำข้าว มีผลต่อการค้างชำระหนี้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectการชำระหนี้th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการค้างชำระหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบางกะปิ จำกัด จังหวัดกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting Un-paidl loan repayments of members of Bangkapi Agricultural Cooperatives, Limited, in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: 1) to study the general condition of members who taken out a loan from Bangkapi Agricultural Cooperative Limited; 2) to study the relative importance of factors affecting Un-paid Loan repayment of members; and 3) to study the factors affecting Un-paid Loan repayment of members of Bangkapi Agricultural Cooperative Limited. The population of this research consisted of 465 members, whose debts had not been repaid, of Bangkapi Agricultural Cooperative Limited; data were collected from 215 samples. The data were collected by using a questionnaire and analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, and chi–square test. The research results showed that 1) most of the samples were males, between 41–50 years old, who had been members for 1–5 years, graduated primary education, got married, and had 3–4 family members with 1–2 studying age children. Most of them were freeholders of 1–5 rai of agricultural land and taken out a loan for agricultural purpose with agricultural and non – agricultural income under 60,000 baht a year, agricultural expenditure under 40,000 a year, and non – agricultural expenditure between 40,000–80,000 baht a year. The samples had the overdue debts with the cooperative between 30,000–60,000 baht and other financial institutions between 60,001–90,000 baht and the unpaid principle.2) The importance of the factors affecting Un-paid Loan repayment of the members showed that environment, production, and marketing were moderately related with the Un-paid Loan repayment; whereas, government policy was highly related with the Un-paid Loan repayment. 3) The factors affecting Un-paid Loan repayment of the members showed that personal factors regarding type of land ownership, number of agricultural area, purpose of taking a loan; income and expenditure factor regarding agricultural income; production factor regarding a lack of water resources; and government policy factor regarding rice subsidy scheme, were related with the Un-paid Loan repayment at a statistical significance level of 0.05en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146598.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons