Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/289
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรณุการ์ ทองคำรอด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจารุพร สาธนีย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชบาไพร แก้วกงพาน, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-06T07:14:02Z-
dc.date.available2022-08-06T07:14:02Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/289-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในงาน ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าองค์การ และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2) ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในงาน ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าองค์การและวัฒนธรรม องค์การแบบสร้างสรรค์กับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ 3) ตัวแปรพยากรณ์ที่ร่วมกันทำนายสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน จำนวน 163 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 4 ส่วนคือ (1) สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ (2) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในงาน (3) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้นำองค์การ และ (4) วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่านและ วิเคราะห์หาความเที่ยงได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคของแบบสอบถามได้เท่ากับ 0.85 0.81 0.91 และ 0.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ เพียร์สัน และสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในงาน ภาวะผู้นำการ เปลี่ยนแปลงของผู้นำองค์การ และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ มีคะแนน เฉลี่ยโดยรวมอยูในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.42, 4.37, 4.35 และ 4.30 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.52, 0.51, 0.52 และ 0.50 ตามลำดับ) (2) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในงาน ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าองค์การและวัฒนธรรม องค์การแบบสร้างสรรค์มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 (r= 0.46, 0.61และ 0.65 ตามลำดับ) (3) วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ของหัวหน้าองค์การ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในงานสามารถร่วมกันทำนายสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ร้อยละ 44 (R 2 = 0.44, p<0.05)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.languagethth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.220en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)th_TH
dc.subjectพยาบาลth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนth_TH
dc.title.alternativeFactors related to the competency of nurses in Tambol Health Promoting Hospitals, the Upper North Eastren Partth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.220en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive research were: 1 ) to examine the competency of nurse, work achievement motivation, transformational leadership of organization leader and construct organization culture by perception of professional nurse who worked at Tambol Health Promoting Hospitals in the upper north eastern part 2 ) to investigate the correlation between the work achievement motivation, transformational leadership of organization leader, construct organization culture and competency of nurse and 3) to identify predictors competency of nurse. The sample comprised 163 professional nurses who worked in Tambol Health Promoting Hospitals the north easturn part. They were selected by stratified random sampling technique. Questionnaires were used as research tools and consisted of 4 sections: (1 ) competency of nurse, (2 ) work achievement motivation, (3 ) transformational leadership of organization leader, (4 ) construct organization culture. The content validity of the tools was verified by 5 experts. The cronbach's alpha coefficients were 0.85, 0.81, 0.91 and 0.96 respectively. Research data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation, and stepwise multiple regression. The research findings were as follows. (1 ) competency of nurse, work achievement motivation, transformational leadership of organization leader and construct organization culture at the high level ( x = 4.42, 4.37 ,4.35 , and 4.30 , SD= 0.52,0.51, 0.52 , and 0.50)(2) There was significantly positive correlation between the work achievement motivation, transformational leadership of organization leader and construct organization culture and competency of nurse. (p< 0.05) (r=0.46, 0.61 and 0.65) (3) The construct organization culture, transformational leadership of organization leader and work achievement motivation predicted competency of nurse. These predictors accounted for 44 %. (R 2 = 0.44, p<0.05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons