Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2928
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวรรณี ยหะกร | th_TH |
dc.contributor.author | จันทร์จิรา พรมสีดา, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-29T08:51:07Z | - |
dc.date.available | 2023-01-29T08:51:07Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2928 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยเรื่อง ชนิดของคำระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านแม่ทะลุ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ได้รับการสอนแบบอุปนัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบนแม่ทะลุ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 1 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ (1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย เรื่องชนิดของคำ และ (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องชนิดของคำ แบบปรนัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฎว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านแม่ทะลุ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ได้รับการสอนแบบอุปนัยเรื่องชนิดของคำ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ระบบการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการใช้วิธีสอนแบบอุปนัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยเรื่องชนิดของคำ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านแม่ทะลุ จังหวัดแม่ฮ่องสอน | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using the inductive teaching method on Thai language learning achievement in the topic of Word Categories of Prathom Suksa IV students at Ban Mae Thalu School in Mae Hong Son Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to compare Thai language learning achievements in the topic of Word Categories of Prathom Suksa IV students at Ban Mae Thalu School in Mae Hong Son province before and after being taught with the use of inductive teaching method. The research sample consisted of Prathom Suksa IV students in an intact classroom of Ban Mae Thalu School in Mae Hong Son province during the second semester of the 2018 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) learning management plans for the inductive teaching method in the topic of Word Categories; and (2) an objective type learning achievement test in the topic of Word Categories. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that the post-learning achievement in the topic of Word Categories of Prathom Suksa IV students at Ban Mae Thalu School in Mae Hong Son province, who were taught with the use of the inductive teaching method,was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level of statistical significance. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_162229.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License