Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2929
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดรุณี จําปาทอง | th_TH |
dc.contributor.author | จุฑาทิพย์ เงินแย้ม, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-29T09:01:05Z | - |
dc.date.available | 2023-01-29T09:01:05Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2929 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทวีป อเมริกาเหนือสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ จังหวัดสงขลา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ จังหวัดสงขลา จำนวน 37 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้ (2) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทวีปอเมริ กาเหนือและ(3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือค่าประสิทธิภาพ E1 / E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 โดยมีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 81.13/81.67 และ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.subject | อเมริกาเหนือ--ประวัติศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ จังหวัดสงขลา | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of a computer-assisted instruction program in the topic of North America continent on learning achievement of Mathayom Suksa III students at Hatyai Ratprachasan School in Songkhla Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to develop a computer assisted instruction program in the topic of North America Continent for Mathayom Suksa III students at Hatyai Ratprachasan School in Songkhla province to meet the set efficiency criterion; and (2) to compare the pre-learning and post-learning achievements of students who learned from the computer assisted instruction program in the topic of North America Continent. The research sample consisted of 37 Mathayom Suksa III students at Hatyai Ratprachasan School in Songkhla province, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were (1) learning management plans; (2) a computer assisted instruction program in the topic of North America Continent; and (3) a learning achievement test. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. The research findings were that (1) the developed computer assisted instruction program in the topic of North America Continent was efficient at 81.13/81.67, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; and (2) the post-learning achievement of Mathayom Suksa III students who learned from the computer assisted instruction program in the topic of North America Continent was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level of statistical significance. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159555.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License