Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจth_TH
dc.contributor.authorอัจฉรา จันทร์ดี, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-31T04:24:10Z-
dc.date.available2023-01-31T04:24:10Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2942en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองขอนแก่น จำกัด 2) การมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองขอนแก่น จำกัด 3) ระดับ บทบาทของสหกรณ์การเกษตรเมืองขอนแก่น จำกัด ในการพัฒนคุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์ 4) ปัญหา อุปสรรคแลข้อเสนอแนะขอสหกรณ์การเกษตรเมืองขอนแก่น จำกัด ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์ประชากรที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองขอนแก่น จำกัด จำนวน 6,620 คน ซึ่งกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Taro Yamane ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 378 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการศึกษา พบว่า 1) สภาพทั่วไปของสมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย บาท ระยะเวลาการเป็นสมาชิก 10 - 15 ปี 2) การมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ สมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ทั้งในธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจเงินฝากออมทรัพย์ ธุรกิจจัดหาวัสดุอุปกรณ์การเกษตรมาจำหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร และสมาชิกทั้งหมดเข้าร่วมกิจกรรมส่วนรวมกับสหกรณ์ เป็นบางครั้ง 3) ระดับของบทบาทสหกรณ์ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สมาชิกด้านเศรษฐกิจอยู่ในระดับมาก โดยมีกิจกรรมโครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินมีบทบาทมากที่สุด สำหรับระดับของบทบาทสหกรณ์ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกด้านสังคม อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีกิจกรรมส่งเสริมการดำเนินการแบบประชาธิปไตยมีบทบาทมากที่สุด 4) ปัญหาและอุปสรรคของสหกรณ์การเกษตรเมืองขอนแก่น คือ สหกรณ์มีสวัสดิการกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตน้อย สำหรับข้อเสนอแนะในพัฒนาคุณภาพชีวิต คือ เพิ่มวงเงินกู้ให้สูงขึ้นและลดอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมลง จัดสวัสดิการให้สมาชิกมากยิ่งขึ้น และควรมีเจ้าหน้าที่ด้าการเกษตรเพื่อให้ความรู้แก่สมาชิกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรเมืองขอนแก่น--สมาชิกth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleบทบาทของสหกรณ์การเกษตรเมืองขอนแก่น จำกัด ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์th_TH
dc.title.alternativeRole of Mueang Khonkaen Agriculture Cooperative in the development of members' quality of lifeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) the demographics of members of Mueang Khonkaen Agricultural Cooperative Limited; 2) members’ participation in the business of the cooperative; 3) the role of the cooperative in developing members’ quality of life; and 4) problems and recommendations for improving the cooperative’s role in developing the quality of life of its members. The study population consisted of the 6,620 members of Mueang Khonkaen Agricultural Cooperative Limited, out of which a sample population of 378 was determined using the Taro Yamane method and selected through accidental sampling. Data were collected using a questionnaire and analyzed using percentage, mean, standard deviation, t-test, f-test and content analysis. The results showed that 1) The majority of cooperative members were male, age 51-60, and educated to primary school level. Their mean income range was 5,001-7,000 a month and most had been members of the cooperative for 10- 15 years. 2) Most of the members participated in the cooperative’s business by taking out loans, depositing money in savings accounts, procuring agricultural equipment and materials for re-sale, and pooling agricultural produce for sale. All of the members stated that they participated in the cooperative’s activities sometimes. 3) In economic terms, the members perceived that the cooperative played a large role in developing their quality of life, especially through giving assistance with debts. In social terms, the members perceived that the cooperative played a medium role in developing their quality of life, especially through its democracy promotion activities. 4) The main problem identified was that the cooperative had few benefit programs for developing members’ quality of life. Recommendations for improving its role were to have the cooperative approve larger loans, reduce its lending rates, provide more benefits for members, and provide agriculture experts to give consultation services to members.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_140797.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons