Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.contributor.authorอัจฉรา สุรินทร์, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-31T07:23:00Z-
dc.date.available2023-01-31T07:23:00Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2947-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลทางบัญชีของสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดลำพูน 2) การใช้ข้อมูลทางบัญชีในการบริหารงานของสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดลำพูน และ 3) ปัญหาที่เกิดขึ้นกับการใช้ข้อมูลทางบัญชีในการบริหารงานของสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดลำพูน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรในจังหวัดลำพูน ซึ่งที่มีสถานภาพดำเนินธุรกิจ พ.ศ. 2556 ทั้งหมดจำนวน 40 แห่ง โดยศึกษาจากผู้แทนสหกรณ์ตำแหน่งประธานกรรมการหรือผู้จัดการสหกรณ์ละ 1 คน รวม 40 คน โดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) สหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ รองลงมาเป็นสหกรณ์ขนาดกลางและขนาดใหญ่มากตามลำดับ มีการจัดทำบัญชีเป็นปัจจุบันทุกสหกรณ์ และส่วนใหญ่มีเจ้าหน้าที่บัญชีจัดทำบัญชีของสหกรณ์เอง โดยมีการจัดทำงบดุลและงบกำไรขาดทุนทุก 12 เดือน และมีการจัดทำงบการเงินประจำปี ทุกสหกรณ์ สหกรณ์ส่วนใหญ่ผลการดำเนินงานมีกำไร สหกรณ์ส่วนใหญ่มีการจัดทำงบทดลองประจำเดือน รายงานผลการดำเนินงานประจำเดือน มีการวิเคราะห์งบการเงินของสหกรณ์ทุก 12 เดือน แต่ส่วนใหญ่ไม่มีการจัดทำงบดุลและงบกำไรขาดทุนทุก 1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน 2) สหกรณ์มีการนำข้อมูลทางบัญชีไปใช้ในการบริหารธุรกิจ โดยสหกรณ์ส่วนใหญ่มีการนำรายงานผลการดำเนินงานประจำเดือน รายงานงบทดลองประจำเดือนงบการเงินรายไตรมาส งบการเงินประจำปี และรายงานผู้สอบบัญชี ไปใช้ในการวางแผน ควบคุม และตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งส่วนใหญ่ผลการดำเนินงานมีกำไร สหกรณ์มีการนำข้อมูลทางบัญชีไปใช้ในการบริหารงานทั่วไป โดยมีการนำข้อมูลยอดขาย/บริการของแต่ละธุรกิจของสหกรณ์ไปใช้ในการกำหนดแผนประจำปี มีการนำงบการเงินของสหกรณ์ไปเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านๆ มามีการนำขัอมูลทางบัญชีไปใช้เปรียบเทียบแผนงานที่กำหนดไว้และปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพทุกสหกรณ์ และสหกรณ์ส่วนใหญ่มีการนำข้อมูลอัตรากำไร หรืออัตราต้นทุนของสหกรณ์ ข้อมูลโครงสร้างเงินทุนจากการวิเคราะห์ฐานะการเงิน ข้อมูลต้นทุนขาย ยอดขาย/บริการของแต่ละธุรกิจไปใช้ในการกำหนดแผนประจำปี มีการนำข้อมูลทางบัญชีไปใช้ประเมินประสิทธิภาพและวัดผลการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการ มีการนำ ข้อมูลทางบัญชีไปใช้ในการจัดหา สินทรัพย์ถาวร อนุมัติจัดหาเงินทุนและวงเงินกู้ยืมประจำปี แต่ส่วนใหญ่ไม่มีการนำงบการเงินของสหกรณ์ไปเปรียบเทียบกับสหกรณ์อื่น และ 3) สหกรณ์มีปัญหาในเรื่องความรู้และความเข้าใจของผู้บริหารสหกรณ์ในการนำงบการเงินไปใช้ในการบริหารงานอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--การบัญชีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร--การบริหารth_TH
dc.titleการใช้ข้อมูลทางบัญชีเพื่อการบริหารงานของสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดลำพูนth_TH
dc.title.alternativeImplementation of accounting data for Agricultural Cooperatives Management in Lamphun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study was focused : 1) to investigate accounting data of agricultural cooperatives in Lamphun Province. 2) to implement accounting data for agricultural cooperatives management. and 3) to identify problems occurred from employing accounting data for agricultural cooperatives management. The population was forty chairmen or managers selected from forty agricultural cooperatives in Lamphun Province and running business in 2013. Each representative from each cooperative was required to give opinions in provided questionnaire. The collected data were analyzed by frequency, percentage, mean, and standard deviation. The findings revealed as follows : 1) Most of the agricultural cooperatives were large, medium, and huge in sizes respectively. All of the agricultural cooperatives managed current book keeping including balance sheet, annual income and financial statements. Most of cooperatives had officers operate accounting jobs on their own; prepared monthly trial balance sheet; submitted monthly report; analyzed annual financial statement; and gained profit from operation. However, even though most of them ran business without preparing and analyzing monthly, quarterly, semi-annual balance sheets, income and financial statements, they also gained profit. 2) All of the agricultural cooperatives in Lamphun implemented accounting data from total sales, each type of their services for their general business management and annual plan. They compared current financial statement with the past years’ plans. Their accounting data were employed to audit the defined plan in order to improve management efficiency. Most of the cooperatives planned, control, and made decisions for business transactions from monthly report, monthly trial balance sheet, annual financial statement, and auditing report. They also defined an annual plan from the data of profit or cost rate and cost structure analyzed from financial standing, total sales, each type of business. They referred accounting data to evaluate managing staff’s performance and to control fixed assets, approve funds, and annual loans. Most of the agricultural cooperatives in Lamphun gained profit regardless of taking quarterly financial statement into accounts of planning, controlling, and decision making; comparing business performance with other cooperatives. 3) In all of the agricultural cooperatives, knowledge and understanding financial statement data for business management was the executives’ critical problem at a high level.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_140846.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons