Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/297
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพัชราพร เกิดมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorไพรรัตน์ อินทมงคล, 2514--
dc.date.accessioned2022-08-06T08:43:04Z-
dc.date.available2022-08-06T08:43:04Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/297-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ต่อระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิ้ว และระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการสุขภาพที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองยาว และมีระดับน้ำตาลในเลือดที่เจาะจากปลายนิ้วสูงกว่า 160 มก/ดล ติดต่อกัน 4 เดือน จำนวน 10 ราย เครื่ องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) รูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบด้วย ระยะที่ 1 กิจกรรมการเรียนรู้รายกลุ่ม ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชหล่มเก่า 1 วัน กับ ทีมสหสาขาวิชาชีพ ได้แก่ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี โรคเรื้อรัง โภชนากร นักกายภาพบำบัด และ แพทย์ ระยะที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้รายบุคคล ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองยาว ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ฐานการเรียนรู้ เรื่อง อาหาร การออก กำลังกาย การจัดการอารมณ์ การใช้ยา และ นาทีชีวิต จำนวน 1 วัน เพื่อให้สามารถจัดการสุขภาพ ตนเองได้อยางเหมาะสม กิจกรรมที่ 2 ประเมินการจัดการตนเองของผู้ป่วย จำนวน 6 ครั้ง ในเวลา 3 เดือน ประกอบด้วยการประเมินระดับน้ำตาลจากปลายนิ้วและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ป่วยกับพยาบาลวิชาชีพ ตรวจระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือดก่อน และหลังเข้าร่วมโครงการ 3 เดือน 2) แบบบันทึกระดับน้ำตาลในเลือด ที่ผู้วิจัยดัดแปลงจากแบบสมุดบันทึกผู้ป่วยเบาหวาน กระทรวง สาธารณสุข เครื่องมือวิจัยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยการใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เปรียบเทียบระดับ น้ำตาลในเลือด และระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือดก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติวิลคอกซัน ผลการวิจัยพบวา ระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิ้วและระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด หลังการทดลอง (เดือนที่ 3) ต่ำกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05 respectively)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.221en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเบาหวาน--ผู้ป่วย--การดูแลth_TH
dc.titleผลของการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ของเครือข่ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชหล่มเก่า : กรณีศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองยาว จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeผลของการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ของเครือข่ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชหล่มเก่า : กรณีศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองยาว จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.221en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were to study the effects of the caring model for patients with uncontrolled diabetes on the levels of capillary blood glucose and Heamoglobin A1C. The sample consisted of ten type II diabetes patients who received health services at Nhong Yao Health Promotion Hospital and their level of capillary blood glucose was higher than 160 ml/d for four months. The instruments in this study, developed by the researcher, comprised: 1) the caring model for patients with uncontrolled diabetes which was composed of two phases. First, the one day group learning activities at Lomkao Crown Prince Hospital were arranged for the patients by the multidisciplinary care team including, the chronic illness case management nurse, a dietitian, a physiotherapist, and a physician. Second, two individual learning activities at Nhong Yao Health Promotion Hospital were offered. (a) The one day learning-based activities focused on diet, exercise, emotional management, drug use, and life minutes. The purpose of these activities was to increase capability of the individual for selfhealth management. (b) Patients evaluated their self-health management for six times during three months. The levels of their capillary blood glucose were evaluated, and they participated in the learning group with patients and professional nurses to improve their self-management. 2) The blood sugar record form which modified from the DM patient booklet of the Ministry of Public Health. The content validity of all instruments was verified by five experts. The data were analyzed by descriptive statistics such as percentage, median, interquartile range, and Wilcoxon match pair sign rank test. The results showed that after received care from the caring model in three months, the levels of capillary blood glucose and Heamoglobin A1C of patients were significantly lower than before they were recruited in the program (p < 0.05 respectively)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons