Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3018
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorฐานมาศ เถื่อนหมื่นไวย, 2533-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-02-03T05:34:36Z-
dc.date.available2023-02-03T05:34:36Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3018en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สถานการณ์และระดับความรุนแรงในการเกิดความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาของห้องจ่ายยาผู้ป่วยใน โรงพยาบาลหนองคาย (2) ปัจจัยด้านยา ปัจจัยด้านบุคลากร และปัจจัยเสริมที่เกี่ยวข้องกับความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านยา ปัจจัยด้านบุคลากร และปัจจัยเสริม กับระดับความรุนแรงในการเกิดความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ เหตุการณ์ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาของห้องจ่ายยาผู้ป่วยในที่ถูกรายงานจากแพทย์และหอผู้ป่วยเก็บข้อมูลแบบไปข้างหน้า โดยสมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลาระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562 จํานวน 104 รายงาน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเป็นแบบบันทึกความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาห้องจ่ายยาผู้ป่วยใน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบฟิชเชอร์เอ็กแซ็กท์ ผลการวิจัยพบว่า (1) เหตุการณ์ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาที่พบมากที่สุด ได้แก่ จ่ายยาผิดตัวยาร้อยละ 39.4 ระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาพบว่าอยู่ในระดับที่รุนแรงน้อย (2) ปัจจัยสาเหตุของการเกิดความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาปัจจัยด้านยา ได้แก่ ยามีลักษณะชื่อพ้องมองคล้าย ร้อยละ 9.6 ปัจจัยด้านบุคลากร จากคำสั่งของแพทย์ที่เขียนลายมือแพทย์ไม่ชัดเจนร้อยละ 22.1 จากเภสัชกรขาดความรู้ด้านยาร้อยละ 20.2 และปัจจัยเสริม ได้แก่ มีการขัดจังหวะหรือรบกวนสมาธิของเภสัชกรร้อยละ 34.6 การบาด หรือลาของเภสัชกรทำให้คนจ่ายยาไม่ครบร้อยละ 14.4 มีปัญหาการสื่อสารระหว่างเภสัชกรกับสหวิชาชีพ และระหว่างบุคลากรในห้องยาเองร้อยละ 7.7 มีใบสั่งยาจำนวนมากในช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์ความคลาดเคลื่อนร้อยละ 33.7 จํานวนรายการยาในใบสั่งยาที่เกิดความคลาดเคลื่อน 1-5 รายการยาร้อยละ 57.7 และ (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาในระดับรุนแรงมากอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ได้แก่ ปัจจัยด้านยา ในส่วนของชื่อยามีการออกเสียงหรือเขียนเหมือนกัน และปัจจัยด้านบุคลากร ในประเด็นเภสัชกรขาดความรู้ด้านยาและขาดข้อมูลจำเพาะของผู้ป่วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--ระบบการจ่ายยา--ไทย--หนองคายth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยาของห้องยาผู้ป่วยใน โรงพยาบาลหนองคายth_TH
dc.title.alternativeFactors related to severity levels of dispensing errors at Inpatient Pharmacy Unit in Nongkhai Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this survey research were: (1) to assess the situations and severity levels of dispensing errors, (2) to identify drug, staff, and contributing factors related to dispensing errors, and (3) to determine the relationships between those factors and severity levels of dispensing errors, all at the Inpatient Pharmacy Unit in Nongkhai Hospital. The study was conducted on a sample of 104 dispensing errors reported to the Inpatient Pharmacy Unit by doctors and ward staff (prospective, time period sampling) from 1 November through 31 December 2019. The research tool was a dispensing error recording form of the pharmacy unit. Data were collected and analyzed to determine percentages, means, and standard deviations, and perform Fisher’s exact test. The results showed that: (1) the most common dispensing error was wrong-drug dispensing (39.4%) with a mild severity level; (2) the factors causing dispensing errors were drug factors (look-alike/sound-alike drug names, 9.6%), staff factors (illegible handwriting, 22.1%), pharmacist’s lack of drug knowledge (20.2%), and contributing factors, including work interruption (34.6%), lack of pharmacists (14.4%), communication problems (7.7%), high workload (33.7%), and wrong numbers of prescribed drugs (57.7%); and (3) the factors significantly associated with dispensing errors included look-alike/sound-alike drug factors and staff factors regarding pharmacist’s lack of drug knowledge and patients’ specific dataen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons