Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/306
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรายุทธ ยหะกรth_TH
dc.contributor.authorกรทิพย์ เกิดปราโมทย์, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-08T03:18:44Z-
dc.date.available2022-08-08T03:18:44Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/306en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัญหาสังคมไทยจากละครหลังข่าวภาคคํ่าทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 พ.ศ. 2555-2556 และ (2) สาเหตุของปัญหาสังคมไทยจากละครหลังข่าว ภาคคํ่าทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 พ.ศ. 2555-2556 วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 พ.ศ. 2555-2556 จํานวน 4 เรื่อง โดยการเลือกแบบเจาะจงซึ่งมีคะแนนความนิยมสูง ได้แก่ เรื่อง แรงเงา รักเกิดในตลาดสด ทองเนื้อเก้า คุณชายรัชชานนท์ เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) ละครหลังข่าวภาคคํ่าทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ช่วง พ.ศ. 2555-2556 สะท้อนปัญหาสังคมทั้งหมด 10 ด้าน ดังนี้ 1) ปัญหาครอบครัว 2) ปัญหาการศึกษา 3) ปัญหาพฤติกรรมความรุนแรง 4) ปัญหาการพนัน 5) ปัญหาอาชญากรรม 6) ปัญหาความยากจน 7) ปัญหาความเชื่อ 8) ปัญหายาเสพติด 9) ปัญหาการเมืองการปกครอง และ 10) ปัญหาชนชั้น (2) สาเหตุของปัญหา คือ 1) ปัญหาครอบครัวมีสาเหตุมาจากทัศนคติเกี่ยวกับการมีภรรยาหลายคนว่าเป็นการแสดงออกถึงอํานาจของฝ่ายชาย 2) ปัญหาการศึกษามีสาเหตุมาจากพ่อแม่ขาดการปลูกฝังทัศนคติเกี่ยวกับความสําคัญด้านการศึกษาที่ดีให้กับลูก 3) ปัญหาพฤติกรรมรุนแรงมีสาเหตุมาจากเด็กที่เติบโตมาในครอบครัวที่เห็นพฤติกรรมความรุนแรงมักจะนําพฤติกรรมความรุนแรงมาใช้แก้ปัญหา 4) ปัญหาการพนันมีสาเหตุมาจากทัศนคติเรื่องการหารายได้ของผู้ที่ขาดความอุตสาหะพยายามในการประกอบอาชีพสุจริต 5) ปัญหาอาชญากรรมมีสาเหตุมาจากผลกระทบจากการศึกษาน้อยจึงส่งผลให้ไม่มีอาชีพที่ถาวร 6) ปัญหาความยากจนมีสาเหตุมาจากการขาดความซื่อสัตย์ในการประกอบอาชีพ 7) ปัญหาความเชื่อมีสาเหตุมาจากความเชื่อโชควาสนาจึงขาดสติในการคิดไตร่ตรองหาเหตุผล 8) ปัญหาสารเสพติดมีสาเหตุมาจากต้องการเรียกร้องความสนใจจากผู้ปกครองที่ไม่มีเวลาดูแลบุตรหลานของตน 9) ปัญหาการเมืองการปกครองมีสาเหตุมาจากการแย่งชิงอํานาจการเมืองการปกครอง และ 10) ปัญหาชนชั้นในสังคมมีสาเหตุมาจากการนําความแตกต่างทางชนชั้นมาเป็นมาตรฐานในสังคมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปัญหาสังคมในภาพยนตร์th_TH
dc.subjectปัญหาสังคม--ไทยth_TH
dc.subjectละครกับสังคม--ไทยth_TH
dc.subjectละครโทรทัศน์--ไทยth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ปัญหาสังคมไทยจากละครหลังข่าวภาคค่ำทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 พ.ศ. 2555-2556th_TH
dc.title.alternativeAnalysis of Thai social and cultural problems of the evening T.V. drama program on channel 3 B.E. 2555-2556en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study ( 1) problems in Thai society that were reflected in drama programs broadcast after the evening news on Channel 3 during the period B.E. 2555-2556. (2) the likely causes of those social problems. This was a qualitative research done by studying 4 TV drama programs with high viewership ratings broadcast after the evening news on Channel 3 during the period B.E. 2555- 2556, namely the programs “Raeng Ngao,” “Rak Kerd Nai Talad Sod,” “Tong Neua Kao,” and “Khun Chai Rachanont.” Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) the programs analyzed reflected 10 main social problems: 1) family problems; 2) education problems; 3) violence problems; 4) gambling problems; 5) crime problems; 6) poverty problems; 7) belief problems; 8) drug problems; 9) political problems; and 10) social class problems. (2) The causes of these problems are 1) family problems were mainly the result of the attitude that polygamy is an expression of male power; 2) education problems were mainly caused by the failure of parents to instill a good attitude about the importance of education in their children; 3) violence problems were mainly the result of children growing up in households where they regularly witnessed or experienced violence, so they tended to use violence to try to solve problems; 4) the cause of gambling problems was mainly a mistaken attitude about how to gain easy income among people who are not industrious and don’t want to work hard to earn an honest living; 5) the cause of most crime problems is probably the impact of people receiving inadequate education so that they lack opportunities to have a stable career; 6) poverty problems are mainly caused by failure to earn an honest living; 7) belief problems result from people’s belief in luck and fate, which impairs their ability to think critically and make rational decisions; 8) drug problems appeared to be caused by attention-seeking behavior of young people whose parents did not spend time with them; 9) political problems arose from competition and struggles over political and administrative power; 10) social class problems were caused by using class differences as a social standard.en_US
dc.contributor.coadvisorจิตรา วีรบุรีนนท์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155143.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons