Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3131
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมาริน สมคิด, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-09T07:24:54Z-
dc.date.available2023-02-09T07:24:54Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3131-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลพื้นฐานด้านสงคมและเศรษฐกิจของผู้ประกอบการแหล่งท่องเที่ยว และนักท่องเที่ยว (2) การดำเนินการเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดระยอง (3) ความต้องการการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร และ (4) ข้อเสนอแนะในการสนับสนุนกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ประกอบการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็นเพศชายและเพศหญิงเท่ากัน อายุเฉลี่ย 52. 81 ปี สถานภาพสมรส จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเฉลี่ย 1,648,125 บาทต่อปี รายจ่าย เฉลี่ย 403,500 บาทต่อปี แหล่งเงินทุนจาก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ หรือสถาบันการเงินอื่น นักท่องเที่ยว ส่วนมากเป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 36.23 ปีโสด จบการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นพนักงานบริษัท นิยมเดินทางแบบไปกลับภายในวันเดียว ต้องการพักในรีสอร์ท บริกสารพื้นเมืองและระบบอินเตอร์เน็ต ได้รับข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวจากอินเตอร์เน็ต และญาติหรือเพื่อน สนใจด้านเกษตรปลอดสารพิษ และเกษตรอินทรีย์ ส่วนใหญ่เคยมาท่องเที่ยวแล้ว โดยสนใจไปแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรอื่น วัตถุประสงค์ท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อน ซื้อผลิตภัณฑ์ และของที่ระลึก หน่วยงานที่มีบทบาทส่งเสริมการท่องเที่ยวคือองค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด (2) ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเฉลี่ย 8.06 ปี เปิดบริการเฉพาะฤดูกาล มีบริการกิจกรรมสาธิต มัคคุเทศก์ อาหาร และที่พัก มีการเชื่อมโยงเครือข่ายกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น โดยหน่วยงานภาครัฐควรมีการสนับสนุนเชื่อมโยงการตลาด และเครือข่ายกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น (3) ความต้องการการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ ได้แก่ การสาธิตทางด้านการเกษตร การแปรรูป การพักค้างแบบรีสอร์ท การอบรมให้ความรู้หรือภูมิปัญญาหรือเทคโนโลยีด้านเกษตร โครงสร้างพื้นฐาน การส่งเสริมการท่องเที่ยว การธุรกิจท่องเที่ยวเชิงเกษตร การตลาดการท่องเที่ยว การให้บริการในแหล่งท่องเที่ยว การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลการท่องเที่ยว (4 ) ข้อเสนอแนะในการสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงเกษตรส่วนใหญ่ต้องการโครงสร้างพื้นฐาน ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว สิ่งอำนวยความสะดวก การประชาสัมพันธ์ การสร้างเครือข่าย การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน การสนับสนุนงบประมาณพัฒนารูปแบบกิจกรรมเกษตร เงื่อนไขค่าบริการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.40-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงเกษตร--ไทย--ระยองth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeThe guidelines for Agro-Tourism development in Rayong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.40-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) fundamental socio-economic information on tourism entrepreneurs and tourists (2) operation relating to agro-tourism in Rayong Province (3) needs for agro-tourism development and (4) suggestions for extension of agro-tourism activity. The population in this study was a number of 16 agro-tourism entrepreneurs and a number of 160 tourists who had visited agro-tourist destination during the month of May-June 2015. Interview was a tool for data collection. Data analysis was conducted by descriptive statistics i.e. frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean and standard deviation. Findings from the study were as follows. (1) Male and female agro-tourism entrepreneurs had the same number whose their average age was 52.81 years. They were married and earned bachelor degree. Their average income from agro-tourism was 1,648,125 baht/year. Their average expenditure was 403,500 baht/year. The Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives or other financial institutes were their source of capital. Most of the tourists were female. Their average ages was 36.23 years, single, and were staff of private companies, preferably going back and forth in one day tour. Resort accommodation was their choice with local food and internet. They received tourist information from internet, relatives or friends and interested in safe agriculture and organic agriculture. Most of them had previously visited and interested in eco-tourism and other agro-tourist destinations. Tourists ‘objective of their visit was to relax, buy local products and souvenirs. The organizations that responsible for tourism promotion were Sub-district Administration Organization, municipal and Provincial Administration Organization. (2) Most of the entrepreneurs organized agro-tourism activity averagely 8.06 times/year which took place only in season. The services included demonstration activity, guides, food and accommodation that connected with other tourist destinations. (3) It was discovered needs for agro-tourism development by entrepreneurs and tourists were agricultural demonstration, processing, over-night stay as in resort, providing knowledge or local wisdom and agricultural technology through training, basic structure, tourism promotion, agro-tourism business, tourism marketing, services in tourist destination, public relations and dissemination of tourist information. (4) Suggestions for agro-tourism promotion mostly were request for basic structure, safety in life and property of tourists, facilities, public relations, network building, participation by community, budget support to develop diverse agro-tourism activities including service charge condition.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146737.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons