Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3181
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญth_TH
dc.contributor.authorราตรี ป้องสนามth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-13T08:35:29Z-
dc.date.available2023-02-13T08:35:29Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3181en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลในการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรในเขตพื้นที่จังหวัดยโสธร 2) ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรในเขตพื้นที่จังหวัดยโสธร 3) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรในเขตพื้นที่จังหวัดยโสธรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและ 4) แนวทางการรักษาและการปรับปรุงพัฒนาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตร ในเขตพื้นที่จังหวัดยโสธร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ เจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรในเขตพื้นที่จังหวัดยโสธร จำนวนทั้งหมด 97 คน รวมทั้งกรรมการและผู้จัดการสหกรณ์การเกษตรในเขตพื้นที่จังหวัดยโสธรจำนวนทั้งหมด 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) เจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรในเขตพื้นที่จังหวัดยโสธร ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และมีอายุต่ำกว่า 35 ปี เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส และมีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่มีเวลาในการปฏิบัติงานต่อวัน 6 – 8 ชัวโมง มีอายุงานต่ำกว่า 10 ปี และมีอัตราเงินเดือนต่ำกว่า 15,000 บาท 2) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับมากโดยปัจจัยด้านความสำเร็จของงานมีแรงจูงใจในระดับมากที่สุด ส่วนปัจจัยด้านผลตอบแทนและความมั่นคงมีแรงจูงใจในระดับน้อยที่สุด 3) เปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ พบว่า เพศชาย มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานมากกวาเพศหญิง อายุตั้งแต่ 35 ปี มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานมากกว่า อายุมากกว่า 45 และ อายุ 35 -45 ปี สถานภาพโสด มีแรงจูงใจในการปฏิบัติมากกว่าสมรสและหม้าย ระดับการศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรีขึ้นไป มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานมากกว่าอายุ 10 – 20 ปี และ 21 ปี ขึ้นไป และอัตราเงินเดือน 25,000 –35,000 บาท มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานมากกว่าอัตราเงินเดือนต่ำกว่า 15,000 และ 15,000-25,000 บาท 4) แนวทางการรักษาและ การปรับปรุง พัฒนาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่จะต้องมีการพัฒนาคน พัฒนางาน ทุกคนมีส่วนร่วม มุ่งสร้างและพัฒนาทีมงาน เสริมสร้างขวัญกาลังใจ รวมทั้งการพิจารณาความชอบและเลื่อนตำแหน่ง ด้วยความเสมอภาคและยุติธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงาน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรในเขตพื้นที่จังหวัดยโสธรth_TH
dc.title.alternativeOperational motivation of Agricultural Co-operatives' Officers in Yasothon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were to study 1) personal factors in the operation of agricultural cooperative officials in Yasothon Province; 2) the level of motivation for their operation; 3 ) the motivation for their operation adhering to their personal factors; and 4) guidelines for maintaining and improving the motivation for their operation. The population in this study was all 97 agricultural cooperative officials in Yasothon Province, including 22 officials who were on the cooperative committee and were managers of agricultural cooperatives in Yasothon Province. The data were collected by using questionnaires. The statistical methodology used to analyze the data was frequency, percentage, mean, and standard deviation. The findings of this study were as follows: 1 ) most of the agricultural cooperative officials in Yasothon Province were female, lower than 35 years old, married, and educated at lower than bachelor degree level. Most of them operated 6-8 hours/day. Their working age was lower than 10 years and their present salary rate was less than 15,000 Baht. 2) The motivation for their operation was generally at high level. The success of their work was the factor which motivated them at the highest level, while the profits and stability got from their work were the factors which motivated them at the lowest level. 3) To compare the motivation for the operation of agricultural cooperative officials adhering to their personal factors, it was found that male officials had more motivation than female ones; the officials aged higher than 35 had more motivation than the ones aged higher than 45 and 35-45; the single officials had more motivation than the married and divorced ones; the officials who were educated at bachelor degree or higher had more motivation than the ones aged higher than 10-20 and 21 (the ones who were educated at lower than bachelor degree level); and the officials whose present salary rate was 25,000-35,000 Baht had more motivation than the ones whose present salary rate was lower than 15,000-25,000 Baht. 4 ) The guidelines for maintaining and improving the motivation for their operation should have consisted of human and work development, sharing the profits with all officials, building up and developing their staff, reinforcing their morale, considering the outcome of their work, and promoting them to a higher position with equal and fair consideration.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146253.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons