Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/323
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรา วีรบุรีนนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสรายุทธ ยหะกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัญญารัตน์ มีเพียร, 2521- ผู้แต่ง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-08T08:13:57Z-
dc.date.available2022-08-08T08:13:57Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/323-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระบบการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลนครเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาหรืออุปสรรคในการดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลนครเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมของเทศบาลนครเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานีวิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่เป็นหัวหน้าส่วนราชการ จำนวน 5 คน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลนครเกาะสมุย จำนวน 8 คน และประชาชนในพื้นที่จำนวน 39 คน รวมจ านวนทั้งสิ้น จำานวน 52 คน เครื่องมือการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลนครเกาะสมุย มีการคัดแยกขยะบางชนิดเพื่อนำไปขาย และคัดแยกขยะอินทรีย์เพื่อไปเลี้ยงสัตว์ 2) ปัญหาหรืออุปสรรคในการดำเนินการ ได้แก่ (1) มีนักท่องเที่ยวและประชากรแฝงเข้ามาอยู่ในพื้นที่จำนวนมากทำให้เกิดขยะมูลฝอยมากตามไปด้วย อีกทั้งยังขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะ ส่งผลให้มีขยะตกค้างตามที่ต่างๆ (2) ครัวเรือนยังขาดความรู้และยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญ จึงไม่มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง (3) รถเก็บขยะของเทศบาลเก็บได้ไม่ทัวถึง การทิ้งกบการเก็บขนยังไม่สมดุล และครัวเรือนขาดการมีส่วนร่วมในการกาจัดขยะ (4) สภาพรถชำรุดและมีน าขยะไหลลงจากรถส่งกลิ่นเหม็นไปทัวบริเวณ (5) ่ ครัวเรือนส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง (6) ขยะมูลฝอยที่นำมากำจัดไม่มีการคัดแยกก่อนนำมาทิ้ง ทำให้บ่อฝังกลบขยะมูลฝอยเต็มเร็ว 3) แนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมของเทศบาลนครเกาะสมุย ดังนี้ (1) เทศบาลควรรณรงค์ให้ประชาชนลดปริมาณขยะโดยใช้หลัก 7Rs (2) เทศบาลควรส่งเสริมกิจกรรที่ทำให้ประชาชนเกิดความรู้ (3) เทศบาลควรส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความส าคัญของการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย (4) เทศบาลควรตรวจสภาพรถอย่างน้อยเดือนละ1ครั้ง และซ่อมแซมรถที่ชารุดให้เรียบร้อย (5) เทศบาลควรจัดอบรมเพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องให้แก่ครัวเรือน (6) เทศบาลควรส่งเสริมให้ประชาชนมีการจัดการขยะด้วยวิธี3R เพื่อเป็นการช่วยลดขยะth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.110-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเทศบาลนครเกาะสมุย -- การบริหารth_TH
dc.subjectขยะ -- การจัดการ -- ไทย -- สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.titleการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลนครเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeSolid waste management systems: a case study of Nakhon Municipality Ko Samui Island, Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.110-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155150.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons