Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3246
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโอภาวดี เข็มทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวชิรวิชญ์ แก้วสัก-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-15T07:00:38Z-
dc.date.available2023-02-15T07:00:38Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3246-
dc.description.abstractการศึกษาค้นควัาอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพึง พอใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ออมทรัพย์ไนจังหวัดลำปาง (2) ศึกษาระดับความพึง พอใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดลำปาง การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในการปฏิบติงาน ของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดลำปาง เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือสหกรณ์ออมทรัพยในจังหวัดลำปาง จำนวน 11 สหกรณ์ โดยเจาะจงเลือกผู้ตอบแบบสอบถาม จากผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหน้าที่การเงิน เจ้าหน้าที่บัญชี เจ้าหน้าที่สินเชื่อ และ เจ้าหน้าที่อื่นๆ จำนวน 60 ราย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามสถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาโดยใช้ค่าสถิติร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติไคสแควร์ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปในการประมวลผล ผลการศึกษา พบว่า (1) เจ้าหน้าที่สหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 41 ปี สมรสแล้วระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระยะเวลาการทำงานอยู่ระหว่าง 1-5 ปี เงินเดือน ที่ใด้รับ อยู่ระหว่าง 10,001-20,000 บาท รายได้อื่นต่ำกว่า 1,000 บาท ค่าใช้จ่ายต่อเดือน ต่ำกว่า 10,000 บาท มีที่พักอาศัยเป็นบ้านของตนเอง และมีภูมิลำเนาส่วนใหญ่อยู่ในพื่นที่อำเภอที่ทำงาน (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน พบว่า เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน ค่าใช้จ่าย ที่พักอาศัย และ ภูมิลำเนา ไม่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ส่วน ตำแหน่ง เงินเดือน และรายได้อื่น มีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน (3) ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานจากปัจจัยจูงใจ อยู่ในระดับมาก ปัจจัยค้ำจุนอยู่ในระดับ มาก และระดับมากที่สุด ในประเด็นเข้ากับเพื่อนร่วมงานได้เป็นอย่างดี รักที่จะปฏิบัติงานใน สหกรณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์จังหวัดลำปาง--พนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์--ไทย--ลำปางth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to satisfaction in job performing of Savings and Credit Cooperatives' staffs in Lampang Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124112.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons