Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/327
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิภา เจริญภัณฑารักษ์th_TH
dc.contributor.authorสมชาย คำนำ, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T01:45:47Z-
dc.date.available2022-08-09T01:45:47Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/327en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อออกแบบฐานข้อมูลวินิจฉัยอาการผิดปรกติของอ้อย และฐานข้อมูลความรู้ออนโทโลยี (2) พัฒนาระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อย โดยใช้หลักการออนโทโลยี (3) เพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานของระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อย โดยใช้หลักการออนโทโลยี (4) เพื่อพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อย โดยใช้หลักการออนโทโลยี และ (5) เพื่อประเมินความพึงพอใจในการใช้เว็บแอปพลิเคชันระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อย โดยใช้หลักการออนโทโลยี วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย (1) ศึกษารวบรวม และวิเคราะห์อาการผิดปรกติของอ้อย โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1) โรคอ้อย จำนวน 29 ชนิด 2) แมลงศัตรูอ้อย จำนวน 21 ชนิด 3) อาการผิดปรกติที่เกิดจากขาดธาตุอาหาร จำนวน 21 ชนิด (2) สร้างฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม Navicat 12 for MySQL ซึ่งประกอบไปด้วย 9 ตาราง (3) สร้างฐานความรู้ออนโทโลยีด้วยโปรแกรม Hozo - Ontology Editor แบ่งออกเป็น 9 คลาส เพื่อกำหนดความสัมพันธ์นำไปสู่การเชื่อมโยง ในการพัฒนาระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อย โดยใช้หลักการออนโทโลยี (4) เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ฐานความรู้ออนโทโลยีกับฐานข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบของภาษาเว็บออนโทโลยี (Web Ontology Language: OWL) (5) พัฒนาระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อย โดยใช้หลักการออนโทโลยี โดยใช้ระบบจัดการโปรแกรมประยุกต์ออนโทโลยี (Ontology Application Management Framework: OAM) (6) ประเมินประสิทธิภาพระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อย โดยใช้หลักการออนโทโลยี (7) ออกแบบและพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน โดยใช้โปรแกรมประยุกต์สำเร็จรูป WordPress เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อย โดยใช้หลักการออนโทโลยี และ (8) ประเมินความพึงพอใจในการใช้เว็บแอปพลิเคชันระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อย โดยใช้หลักการออนโทโลยี ผลการวิจัยพบว่าการวัดประสิทธิภาพระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อย โดยใช้หลักการออนโทโลยี มีค่าความถูกต้อง = 0.81 ค่าความระลึก = 0.57 และค่า F-measure = 0.66 และผลประเมินความพึงพอใจในการใช้เว็บแอปพลิเคชัน ที่ทำงานเชื่อมโยงกับระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อย โดยใช้หลักการออนโทโลยี พบว่ามีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.22en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectOntologyen_US
dc.subjectอ้อยth_TH
dc.subjectภววิทยาth_TH
dc.titleระบบวินิจฉัยและแนะนำการป้องกันอาการผิดปรกติของอ้อยโดยใช้หลักการออนโทโลยีth_TH
dc.title.alternativeDiagnosis and recommendation system for prevention of sugarcane disorder using ontology principleen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2018.22-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.22en_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.contributor.coadvisorมารุต บูรณรัชth_TH
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_162024.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons