Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3379
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อัจฉรา โพธิ์ดี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | อัจฉรา จิตตลดากร, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สันติ ฟ้าคุ้ม, 2525- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-16T08:16:22Z | - |
dc.date.available | 2023-02-16T08:16:22Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3379 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลพื้นฐานของสมาชิกวิสาหกิจชุมชน 2) การจัดการการผลิตและการตลาดข้าวเปลือกของสมาชิกวิสาหกิจชุมชน 3) การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน 4) การจัดการการผลิตและการตลาดข้าวสารของวิสาหกิจชุมชน 5) จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค และแนวทางการพัฒนาการผลิตและการตลาดข้าวของวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวชุมชนบ้านหนองหว้า อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัย พบว่า 1) สมาชิกวิสาหกิจชุมชนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 53.50 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพค้าขาย รายได้ครัวเรือนสูงกว่า 500,000 บาทต่อปี 2) สมาชิกที่ปลูกข้าวส่วนใหญ่ปลูกข้าวพันธุ์ข้าวดอกมะลิ 105 มีพื้นที่ปลูกเฉลี่ย 12.50 ไร่ ส่วนใหญ่มีการวางแผนการผลิต ด้านการปฏิบัติการส่วนใหญ่ปลูกข้าวโดยวิธีหว่านน้าตมและใช้น้าชลประทาน ด้านการควบคุมส่วนใหญ่มีการปฏิบัติในบางกิจกรรม ได้ผลผลิตข้าวเฉลี่ย 536.00 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนการผลิตรวม รายได้รวม และกำไรเท่ากับ 4,947.41 6,834.00 และ1,886.59 บาทต่อไร่ตามลำดับ ผลผลิตส่วนใหญ่จำหน่ายให้โรงสีเอกชน ส่วนหนึ่งเก็บไว้บริโภคและทาพันธุ์ 3) การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนใช้รูปแบบคุณะกรรมการระดมหุ้นจากสมาชิก และแหล่งทุนอื่น ๆ สมาชิกมีความเห็นว่าคณะกรรมการมีความเสียสละและสมาชิกให้ความร่วมมือดี 4) วิสาหกิจชุมชนรับซื้อผลผลิตข้าวจากสมาชิกมาแปรรูป ได้แก่ ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ข้าวไรซ์เบอรี่ ข้าวหอมมะลิแดง ให้บริการสีข้าว มีการวางแผนการผลิตและการตลาดข้าวสาร ควบคุมการผลิตและเก็บรักษา มีการควบคุมปริมาณการขายและการผลิตให้สมดุล กำหนดราคาขายต่ำกว่าคู่แข่งและเน้นการขายปลีกแก่ผู้บริโภค 5) จุดแข็งคือผลผลิตมีคุณภาพ ราคาถูก สถานที่จำหน่ายอยู่ในชุมชน จุดอ่อนคือบรรจุภัณฑ์ไม่ทันสมัย พื้นที่เก็บข้าวเปลือกไม่เพียงพอโอกาสคือผู้บริโภคนิยมบริโภคข้าวเพื่อสุขภาพมากขึ้น รัฐและเอกชนสนับสนุน อุปสรรคคือมีคู่แข่งมากและภัยธรรมชาติ แนวทางการพัฒนาการผลิตและการตลาดที่สำคัญคือเน้นปลูกข้าวพันธุ์ที่ตลาดต่องการขอรับรองมาตรฐานการผลิต วิสาหกิจชุมชนควรเพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ทันสมัย และหาช่องทางการจำหน่ายเพิ่มขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.157 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ข้าว--การปลูก--ไทย--นครราชสีมา | th_TH |
dc.subject | ข้าว--การควบคุมการผลิต | th_TH |
dc.subject | ข้าว--การตลาด | th_TH |
dc.title | การจัดการการผลิตและการตลาดข้าวของสมาชิกและวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวชุมชนบ้านหนองหว้า อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | Rice production and marketing management of members and community enterprise of Bannongwa Community Rice Mill, Mueang Nakhon Ratchasima District, Nakhon Ratchasima Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2014.157 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) the basic socio-economic status of Community Enterprise (CE) members, 2) paddy production and marketing management of the members, 3) the operation of the CE, 4) rice production and marketing management of the CE, and 5) strengths, weaknesses, opportunities, and threats, and guidelines to develop rice production and marketing management of Bannongwa Community Rice Mill, Mueang Nakhon Ratchasima District, Nakhon Ratchasima Province. This was a quantitative and qualitative research. The study population was 135 community enterprise members which were classified as 15 Community Board (CB) and 120 non Community Board members, and there were 20 members who grew Khao Dawk Mali 105 rice. The data were collected from the population by using questionnaires and in-depth interview form for the CB members. A focus group discussion was done with 15 related people selected by purposive sampling. The quantitative data were analyzed using descriptive statistics, and qualitative data were analyzed using topological analysis, SWOT analysis, and the TOWS Matrix. The results showed that 1) most of CE members were female, mean age 53.5 years, had completed primary education, and had trade occupations. Their average household income was higher than 500,000 baht/year. 2) Members who grew rice mostly planted Khao Dawk Mali 105 rice. Average planted area was 12.50 rai (1 rai = 1,600 m2). They mostly set production planning. For implementing, they mostly used wet direct seeding method, and irrigation as source of water. For controlling, they mostly implemented some control activities. Average yield was 536.00 kg/rai. Average costs of production, average income, and profit were 4,947.41, 6,834.00, and 1,886.59 baht/rai, respectively. They sold most of their product to a private rice mill and kept some part for consumption and seed. 3) CE operated by the board and gathered shares from the members and other sources of funding. Members thought that the board members were self-sacrificing, and the members cooperated well. 4) The CE bought Khao Dawk Mali 105, riceberry, and red jasmine rice paddy from the members to grind, and had milling service. They set production and marketing plan and balanced the quantity sold and the production. The product prices were lower than the competitors and the products were mostly sold as retail to consumers. 5) Their strengths were good quality products, low price, and selling in the community; weaknesses were not modern packaging and not enough space to store paddy; opportunities were consumers’ satisfaction of healthy rice product and support from the private and government sectors; threats were many competitors and natural disasters. Guidelines to develop rice production and marketing management are planting rice varieties that conform to market demand, applying for standard production, enhancing the product varieties, developing modern packaging, and finding more distribution channels. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
147563.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License