Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3692
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทิวาภรณ์ ประสานพันธ์, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-04T12:12:48Z-
dc.date.available2023-03-04T12:12:48Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3692-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง สิทธิของผู้เสียหายเกี่ยวกับค่าสินไหมทดแทน : กรณีผู้เยาว์เป็นผู้กระทําผิด มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงแนวคิด ทฤษฎี หลักการพื้นฐานและเจตนารมณ์ในการชดใช้ค่าเสียหายและสิทธิในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนในคดีอาญาของผู้เสียหาย อีกทั้งเพื่อทราบถึงประโยชน์และข้อจํากัดต่าง ๆ เกี่ยวกับการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากผู้กระทําความผิดอาญาที่เป็นเด็ก หรือเยาวชน ให้สามารถนํามาปรับใช้อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นไปตามเจตนารมณ์ของบทบัญญัติที่แก้ไขใหม่ของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เช่น มาตรา 44/1 ต่อไป การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณ ภาพ โดยใช้รูปแบบการวิจัยเอกสาร ด้วยการศึกษาค้นคว้าจากตัวบทกฎหมาย คําพิพากษาศาลฎีกา ตําราทางกฎหมาย งานวิจัย รายงาน การศึกษาวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ และเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งทางอินเตอร์เน็ต ผลการศึกษาพบว่าการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนของผู้เสียหายในคดีอาญา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เช่น มาตรา 44/1 กรณีผู้กระทําความผิดเป็นเด็กหรือเยาวชน มีอุปสรรคบางประการ เนื่องจากเด็กหรือเยาวชนผู้กระทําความผิดอาญาส่วนใหญ่แล้ว ไม่มีความสามารถหรือไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือเยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้เสียหายได้ หากผู้เสียหายจะดําเนินการฟ้องร้องบิดามารดา ผู้ปกครอง เพื่อให้รับผิดร่วมกับจําเลยซึ่งเป็นเด็กหรือเยาวชนแล้ว จะต้อง ไปดําเนินการฟ้องร้องที่ศาลจังหวัดหรือศาลแขวงที่มีเขตอํานาจพิจารณาพิพากษา อันเป็นการสร้างภาระค่าใช้จ่ายให้แก่ผู้เสียหายเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น จึงควรมีการแก้ไขเพิ่มบทบัญญัติกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหาย เพื่อให้ผู้เสียหายได้รับการคุ้มครองตามเจตนารมณ์ของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่ได้ให้ความคุ้มครองรับรองสิทธิของผู้เสียหายไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectค่าสินไหมทดแทนth_TH
dc.subjectผู้เสียหายth_TH
dc.subjectผู้เยาว์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleสิทธิของผู้เสียหายเกี่ยวกับค่าสินไหมทดแทน : กรณีผู้เยาว์เป็นผู้กระทำผิดth_TH
dc.title.alternativeRights of the injured party concerning compensation : a case of Juvenile offendersth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe independent study titled “Rights of the Injured Party Concerning Compensation: A Case of Juvenile Offenders” has an objective to construe the concepts, theories, principles, and the purpose of compensation and rights of injured party in criminal case in claiming compensation; and to construe advantages and restriction in claiming such compensation from juvenile or youth offender in order to apply such rights in the concrete manner in accordance with the purpose of news provisions of the Criminal Procedure Code such as Section 44/1. The independent study is the qualitative research in the form of documentary research, by conducting research from legal provisions, court judgments, legal textbooks, legal research, legal reports, theses and papers, relating academic papers, including electronic sources. According to the study research, there are certain difficulties in applying news provisions of the Criminal Procedure Code such as Section 44/1 for the injured person in criminal case to claim for compensation from juvenile or youth offenders because most of juvenile or youth offenders have no capacity to earn money or have no sufficient property to pay compensation or damages to the injured person. Moreover, if the injured person files a lawsuit against parents or guardians to have joint liability with such juvenile or youth offender, the injured person shall file the case at the provincial court or district court which has jurisdiction. This situation then will cause excessive burden to the injured person. Therefore, there should be the amendment of legal provisions to protect the rights of injured person under the objective of Criminal Procedure Code in accordance with the rights of injured person protected under the Thai Constitutionen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons